1. | โจทย์ \(x = {-b \pm \sqrt{b^2-4ac} \over 2a}\) |
A | ตัวเลือกที่ 1 |
B | ตัวเลือกที่ 2 \(x = {-b \pm \sqrt{b^2-4ac} \over 2a}\) \(x = {-b \pm \sqrt{b^2-4ac} \over 2a}\) |
C | ตัวเลือกที่ 3 |
D | ตัวเลือกที่ 4\(x = {-b \pm \sqrt{b^2-4ac} \over 2a}\) |
E | ตัวเลือกที่ 5 |
2. | ให้การเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่งในสองมิติ เป็นไปตามสมการ
\(\rm \vec r(t) = (4.0t^2-9.0)\hat i + (2.0t - 5.0)\hat j \)
โดย r มีหน่วย เมตร และ t มีหน่วย วินาที แล้ววัตถุจะตัดแกน x ที่วินาทีใด |
A | 0.0 s |
B | 0.4 s |
C | 0.6 s |
D | 1.5 s |
E | 2.5 s |
3. | กำหนดกราฟความเร็วเทียบกับเวลาของรถคันหนึ่ง อยากทราบว่า ความเร่งที่วินาทีที่ 90 เท่ากับข้อใด
![]() |
A | 0.22 m/s2 |
B | 0.33 m/s2 |
C | 1.0 m/s2 |
D | 9.8 m/s2 |
E | 30 m/s2 |
4. | ให้ตำแหน่งของวัตถุกำหนดจากฟังก์ชันของเวลา x = 8t – 3t2 โดย x มีหน่วยเมตร และ t ในหน่วยวินาที แล้วความเร็วเฉลี่ยในช่วง t = 1 ถึง t = 2 s เท่ากับข้อใด |
A | - 2 m/s |
B | - 1 m/s |
C | - 0.5 m/s |
D | 0.5 m/s |
E | 1 m/s |
5. | วัตถุถูกปล่อยจากหยุดนิ่ง และเคลื่อนที่ได้ระยะทาง h ในวินาทีแรก จงหาระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในวินาทีที่สอง |
A | h |
B | 2h |
C | 3h |
D | 4h |
E | h2 |
6. | มีลังใส่ของเล่นถูกวางนิ่งไว้บนรถเลื่อนหิมะคันหนึ่ง ขณะเดียวกันมีแรงดึงรถเลื่อนขึ้นเนินเขาด้วยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยลังไม่ได้ถูกยึดกับรถเลื่อนไว้ แล้วข้อใดคือแรงที่จะต้องรองรับอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้นของลังของเล่นขณะเคลื่อนที่ขึ้นเนินเขา |
A | แรงเสียดทานสถิตของรถเลื่อนที่กระทำกับลังของเล่น |
B | แรงตั้งฉากของพื้นหิมะที่กระทำกับรถเลื่อน |
C | แรงตั้งฉากของรถเลื่อนที่กระทำกับลังของเล่น |
D | แรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อรถเลื่อน |
E | ไม่มีแรงใดรองรับ |
7. | ในเวลา t = 0 รถลาก เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งในแนวเส้นตรง ด้วยความเร็วตามฟังก์ชัน v = 5t2 , โดย v มีหน่วย m / s และ t มีหน่วย s ข้อใดแสดงการเคลื่อนที่ของรถจาก t = 0 ถึง t ได้ถูกต้องที่สุด |
A | 5t3 |
B | 5t3/3 |
C | 10t |
D | 15t2 |
E | 5t/2 |
8. | พลังงานศักย์ทางเคมีที่ถูกเก็บไว้ในแบตเตอรี่จะถูกแปลงเป็นพลังงานจลน์ที่ช่วยเพิ่มอัตราเร็วของรถของเล่นจาก 0 เป็น 2 ไมล์ต่อชั่วโมง แล้วเพิ่มจาก 2 เป็น 4 ไมล์ต่อชั่วโมง ถ้าไม่คำนึงถึงพลังงานที่กลายเป็นพลังงานความร้อนเนื่องจากแรงเสียดทาน และแรงต้านอากาศ แล้วข้อใดเปรียบเทียบพลังงานที่ต้องใช้ในการขับเคลื่อนจาก 2 เป็น 4 ไมล์ต่อชั่วโมงกับพลังงานที่ต้องใช้จาก 0 เป็น 2 ไมล์ต่อชั่วโมงได้ถูกต้องที่สุด |
A | ใช้พลังงานเป็นครึ่งหนึ่ง |
B | ใช้พลังงานเท่ากัน |
C | ใช้พลังงานเป็นสองเท่า |
D | ใช้พลังงานเป็นสามเท่า |
E | ใช้พลังงานเป็นสี่เท่า |
9. | ถ้าดาวฤกษ์สองดวงอยู่ห่างกันมาก แล้วพลังงานศักย์โน้มถ่วงของทั้งสองเท่ากับศูนย์ ถ้าดาวทั้งสองดวงห่างกัน d พลังงานศักย์โน้มถ่วงของระบบจะเท่ากับ U แล้วดาวที่ห่างกัน 2d พลังงานศักย์โน้มถ่วงของระบบจะเท่ากับข้อใด |
A | U/4 |
B | U/2 |
C | U |
D | 2U |
E | 4U |
10. | ให้พื้นเอียงถูกวางอยู่บนพื้นลื่น และมีกล่องที่เดิมอยู่นิ่งค่อยๆ เลื่อนลงมาจากพื้นเอียงที่มีความขรุขระ แล้วการเคลื่อนที่ของจุดศูนย์กลางมวลของระบบกล่องและพื้นเอียงจะเป็นไปตามข้อใด |
A | จะไม่มีการเคลื่อนที่เกิดขึ้น |
B | มีการเคลื่อนที่ตามแนวนอนด้วยอัตราเร็วคงที่ |
C | มีการเคลื่อนที่ตามแนวนอนด้วยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ |
D | มีการเคลื่อนที่ตามแนวตั้งด้วยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ |
E | มีการเคลื่อนที่ทั้งในแนวตั้ง และแนวนอน |
11. | ล้อมวล 1 kg สองวง มีแกนล้อคงที่ จากที่เดิมอยู่นิ่งมีแรงมากระทำ ดังรูป สมมุติว่า แกนล้อและซี่ล้อมีมวลเบามาก และความเฉื่อยในการหมุนเท่ากับ I = mR2 ถ้าต้องการให้ความเร่งเชิงมุมของทั้งสองล้อมีค่าเท่ากัน แล้วแรง F2 ที่กระทำบนแกนล้อควรเท่ากับข้อใด
![]() |
A | 0.25 N |
B | 0.5 N |
C | 1 N |
D | 2 N |
E | 4 N |
12. | ให้แผ่นกลม, ห่วง และทรงกลม มีมวล และรัศมีเท่ากัน และจะหมุนอย่างอิสระรอบแกนที่ผ่านจุดศูนย์กลางของวัตถุ โดยสมมุติว่าห่วงเชื่อมกับแกนหมุนด้วยซี่ล้อรถ ถ้าวัตถุที่เดิมอยู่นิ่ง ถูกกระทำที่วงด้านนอกด้วยแรงเดียวกัน ในเวลาเดียวกัน แล้วข้อใดจัดอันดับพลังงานจลน์ของวัตถุจากน้อยไปมาก หลังเวลาผ่านไป t ได้ถูกต้อง
![]() |
A | แผ่นกลม, ห่วง, ทรงกลม |
B | ทรงกลม, แผ่นกลม, ห่วง |
C | ห่วง, ทรงกลม, แผ่นกลม |
D | แผ่นกลม, ทรงกลม, ห่วง |
E | ห่วง, แผ่นกลม, ทรงกลม |
13. | หินหนัก 2 kg แขวนที่ปลายไม้เมตรสม่ำเสมอยาว 1 เมตร ด้วยเชือกเบา ถ้าไม้เมตรเกิดสมดุลเมื่อหินที่แขวนอยู่ อยู่ห่างจากจุดหมุนไป 0.20 m แล้วไม้เมตรมีมวลเท่าใด ![]() |
A | 0.20 kg |
B | 1.00 kg |
C | 1.33 kg |
D | 2.00 kg |
E | 3.00 kg |
14. | ถ้าวัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ไปตามแกน x พุ่งชนแบบยืดหยุ่นกับวัตถุแบบเดียวกันที่เดิมอยู่นิ่ง แล้วกราฟในข้อใดแสดงโมเมนตัม P เทียบกับเวลา t ของแต่ละวัตถุได้ถูกต้อง |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
15. | ให้อัตราเร็วของรถยนต์ที่มีระบบขับเคลื่อนล้อหลังมีขนาดเพิ่มขึ้น แล้วทิศทางของแรงเสียดทานบนยางรถยนต์จะเป็นไปตามข้อใด |
A | ที่ล้อหน้ามีทิศถอยหลัง ที่ล้อหลังมีทิศไปข้างหน้า |
B | ที่ล้อหน้ามีทิศไปข้างหน้า ที่ล้อหลังมีทิศถอยหลัง |
C | ทุกล้อมีทิศไปข้างหน้า |
D | ทุกล้อมีทิศถอยหลัง |
E | แรงเสียดทานเป็นศูนย์ |
16. | ให้แผ่นกลมสม่ำเสมอ (I = \(\dfrac{1}{2}\)MR2) มีมวล 8.0 kg สามารถหมุนรอบแกนโดยไม่มีแรงเสียดทาน และมีเชือกคล้องผ่านแผ่นกลมนั้น และแขวนมวล 6.0 kg เอาไว้ ดังรูป ถ้าเชือกไม่มีการไถล แล้วแรงตึงเชือกขณะมวลหย่อนลงมาเท่ากับข้อใด
![]() |
A | 20.0 N |
B | 24.0 N |
C | 34.3 N |
D | 60.0 N |
E | 80.0 N |
17. | ให้ลูกเบสบอลตกใส่ด้านบนของลูกบาส ขณะที่ลูกบาสกระแทกพื้นแล้วกระเด้งกลับด้วยอัตราเร็ว 4.0 m/s และพุ่งชนกับลูกเบสบอลที่ตกลงมาด้วยอัตราเร็ว 4.0 m/s หลังการชนลูกเบสบอลพุ่งกลับขึ้นไป ดังรูป และลูกบาสกลับมาอยู่นิ่งทันทีหลังการชน ถ้าลูกเบสบอลมวล 0.2 kg และลูกบาสมวล 0.5 kg และไม่สนแรงต้านอากาศ ไม่สนการดลเนื่องจากแรงโน้มถ่วง เพราะช่วงเวลาในการชนนั้นสั้นมาก แล้วอัตราเร็วของลูกเบสบอลหลังการชนกับลูกบาสที่พุ่งขึ้นมาเท่ากับข้อใด
![]() |
A | 4.0 m/s |
B | 6.0 m/s |
C | 8.0 m/s |
D | 12.0 m/s |
E | 16.0 m/s |
18. | ให้วัตถุเล็กๆ ถูกขว้างไปออกจากตึกสูง 50.0 m ตามแนวนนอนด้วยอัตราเร็วต้น 10.0 m/s ตามแนววิถีที่วัตถุเคลื่อนที่ไปจะมีองค์ประกอบที่เป็นความเร่งที่สัมผัสกับแนววิถีการเคลื่อนที่ และความเร่งที่ตั้งฉากกับแนววิถี แล้วความเร่งของวัตถุในแนวสัมผัสกับแนวตั้งฉากจะมีค่าเท่ากัน หลังวัตถุถูกโยนออกไปกี่วินาที ไม่ต้องคำนึงถึงแรงต้านอากาศ |
A | 2.00 s |
B | 1.50 s |
C | 1.00 s |
D | 0.50 s |
E | ที่ความสูงนั้นยังไม่สามารถทำให้เกิดเหตุการณ์นั้นได้ |
19. | ก้อนน้ำแข็งเล็กๆ ที่เดิมอยู่นิ่ง ไหลลงมาตามแผ่นน้ำแข็งโค้งที่ไม่มีแรงเสียดทาน ดังรูป แล้วที่จุด A จะเป็นจุดเชื่อมแผ่นน้ำแข็งกับพื้นเอียงที่ยกขึ้นมา 30° จากแนวระดับ และมีสัมประสิทธิ์เสียดทาน μk ความยาวทางลาดยาว \(\dfrac{3}{2}\rm h\) ถ้าก้อนน้ำแข็งนิ่งสนิทที่ปลายด้านล่างของพื้นเอียง แล้ว μk เท่ากับข้อใด
![]() |
A | 0.866 |
B | 0.770 |
C | 0.667 |
D | 0.385 |
E | 0.333 |
20. | ให้สปริงที่ไม่ได้เป็นไปตาม กฎของฮุค มีแรง F = – kx2 โดย k เป็นค่านิจสปริง x เป็นระยะสปริงที่ยังไม่ถูกยืดจากระบบที่แสดง ดังรูป ถ้านำวัตถุมวล m ติดกับสปริงที่เดิมอยู่นิ่ง แล้วระยะยืดของสปริงจนระบบหยุดนิ่งชั่วขณะเท่ากับข้อใด สมมุติว่า ทุกพื้นผิวและรอกไม่มีแรงเสียดทาน
![]() |
A | \(\rm \left(\dfrac{3mg}{2k}\right)^{1/2}\) |
B | \(\rm \left(\dfrac{mg}{k}\right)^{1/2}\) |
C | \(\rm \left(\dfrac{2mg}{k}\right)^{1/2}\) |
D | \(\rm \left(\dfrac{\sqrt3mg}{2k}\right)^{1/2}\) |
E | \(\rm \left(\dfrac{3\sqrt3mg}{2k}\right)^{1/2}\) |
21. | จุดมวลเล็กๆ เคลื่อนที่ไปตามแนวนอนระหว่างผนังสองด้านที่ไม่มีแรงเสียดทาน ด้วยพลังงานจลน์เริ่มต้น E ทุกครั้งที่ชนกับผนัง มวลจะสูญเสียพลังงานจลน์ไป \(\dfrac{1}{2}\) ไปเป็นพลังงานความร้อน แล้ววัตถุจะชนกับผนังได้กี่ครั้ง ก่อนที่ความเร็วของมวลจะลดลงจนเหลือ \(\dfrac{1}{8}\) เท่าของของเดิม |
A | 3 |
B | 4 |
C | 6 |
D | 8 |
E | 16 |
22. | ถ้าความเฉื่อยในการหมุนรอบแกนที่ผ่านจุดศูนย์กลางของทรงกลมตันคือ I แล้วความเฉื่อยในการหมุนรอบทรงกลมที่มีความหนาแน่นเท่ากัน แต่มีรัศมีเป็นสองเท่าจะเท่ากับข้อใด |
A | 2I |
B | 4I |
C | 8I |
D | 16I |
E | 32I |
23. | จรวดสองลำอยู่ในอวกาศที่มีสนามโน้มถ่วงน้อยมาก ให้ผู้สังเกตอยู่ในกรอบอ้างอิงที่จรวดทั้งสองเดิมอยู่นิ่ง มวลของจรวดเป็น m และ 9m เมื่อมีแรงคงที่ F มากระทำกับจรวดมวล m เป็นระยะทาง d จะทำให้จรวดได้รับโมเมนตัม p ถ้ามีแรง F เท่าเดิม มากระทำกับจรวดมวล 9m เป็นระยะทางเท่ากัน d แล้วโมเมนตัมที่จรวดมวล 9m จะได้รับเท่ากับข้อใด |
A | p/9 |
B | p/3 |
C | p |
D | 3p |
E | 9p |
24. | ถ้าดาวรัศมี R หมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ω รอบแกนที่ผ่านขั้วโลกเหนือ แล้วอัตราส่วนของแรงตั้งฉากที่พื้นกระทำกับคนคนหนึ่งที่เส้นศูนย์สูตร กับคนที่ขั้วโลกเหนือเท่ากับข้อใด สมมุติว่ามีสนามโน้มถ่วงคงที่ g และทั้งสองคนอยู่นิ่งเทียบเมื่อกับดาวเคราะห์ และอยู่ที่ระดับน้ำทะเล |
A | g/Rω2 |
B | Rω2/g |
C | 1 – Rω2/g |
D | 1 + g /Rω2 |
E | 1 + Rω2/g |
25. | ถ้าเตะบอลมวล m ออกไปกลางอากาศ โดยไม่สนแรงต้านอากาศ แต่สมมุติว่า มีลมที่มีแรงคงที่ F0 กระทำในทิศทาง – x แล้วขนาดมุมเหนือแกน x ในทิศบวก ที่เตะบอลแล้วบอลจะถูกพัดกลับมาที่จุดเดิมเท่ากับข้อใด ให้แสดงในเทอมของ F0 และความเร่งโน้มถ่วง g |
A | tan-1 (F0/mg) |
B | tan-1 (mg/F0) |
C | sin-1 (F0/mg) |
D | ขนาดของมุมจะขึ้นกับแรงที่เตะ |
E | ไม่มีมุมใดที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าว |
26. | จงหาคาบของการสั่นเล็ก ๆ ของ เครื่องเล่นทางน้ำที่เรียกว่า water pogo ที่มีลักษณะเป็นแท่งมวล m คล้ายกล่อง (รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน) มีความยาว L , กว้าง w และ สูง h และสั่นขึ้นลงในน้ำที่มีความหนาแน่น ρ สมมุติว่า water pogo มีความยาว L และกว้าง w และอยู่ในแนวนอนตลอดเวลา คำแนะนำ : แรงลอยตัวบนวัตถุหาจาก FB = ρVg โดย V คือ ปริมาตรของของเหลวที่ถูกแทนที่ และ ρ คือ ความหนาแน่นของของเหลว สมมุติว่าที่สมดุล water pogo จะลอย (ไม่จม) |
A | \(\rm 2\pi\sqrt{\dfrac{L}{g}}\) |
B | \(\rm \pi\sqrt{\dfrac{\rho w^2L^2g}{mh^2}}\) |
C | \(\rm 2\pi\sqrt{\dfrac{mh^2}{\rho w^2L^2g}}\) |
D | \(\rm 2\pi\sqrt{\dfrac{m}{\rho wLg}}\) |
E | \(\rm \pi\sqrt{\dfrac{m}{\rho wLg}}\) |
27. | มีเด็ก ๆ อยู่บนรถลากเลื่อน และรถลากเลื่อนที่เดิมอยู่นิ่งจะเคลื่อนที่ลงมาจากเนินหิมะที่ทำมุม 25° (เทียบกับแนวนอน) ซึ่งเคลื่อนที่ไป 85 เมตร ใน 17 วินาที ถ้าไม่สนแรงต้านอากาศ แล้วสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ระหว่างรถเลื่อนกับเนินหิมะเท่ากับข้อใด |
A | 0.36 |
B | 0.40 |
C | 0.43 |
D | 1.00 |
E | 2.01 |
28. | ให้สถานีอวกาศประกอบด้วย สองห้องนั่งเล่นที่เชื่อมกับอาคารศูนย์กลาง และอยู่ตรงข้าม กัน โดยทางเชื่อมทั้งสองยาวเท่ากัน แต่ละห้องนั่งเล่นจะมีนักบินอวกาศที่มีมวลเท่ากัน N คน ส่วนมวลของสถานีอวกาศถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับมวลของนักบินอวกาศ และขนาดของอาคารศูนย์กลางกับห้องนั่งเล่นจะเล็กมากเมื่อเทียบกับความยาวของทางเชื่อม ในช่วงแรกๆ สถานีอวกาศจะหมุนเพื่อให้นักบินอวกาศรู้สึกว่ายังอยู่ในสนามโน้มถ่วง g ถ้านักบินอวกาศสองคน จากแต่ละห้องนั่งเล่นมายังอาคารศูนย์กลาง และนักบินอวกาศเริ่มรู้สึกถึงสนามแรงโน้มถ่วง g' แล้วอัตราส่วน g'/g เท่ากับข้อใดในเทอมของ N
![]() |
A | \(\rm 2N/(N – 1)\) |
B | \(\rm N/(N – 1)\) |
C | \(\rm \sqrt{(N – 1)/N}\) |
D | \(\rm \sqrt{N/(N – 1)}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
29. | แบบจำลองอย่างง่ายของจักรยานมวล M สองล้อ แต่ละล้อสัมผัสพื้นที่จุดหนึ่ง และระยะฐานล้อ (ระยะจากจุดสัมผัสกับพื้นของล้อหนึ่งถึงอีกล้อหนึ่ง) เท่ากับ w มีจุดศูนย์กลางมวลของจักรยานอยู่กึ่งกลางระหว่างล้อและอยู่สูง h เหนือพื้นดิน สมมุติให้จักรยานกำลังเคลื่อนที่ไป ทางขวา แต่มีการชะลอตัวในอัตราคงที่ มีความเร่ง a และในที่นี้จะไม่สนแรงต้านอากาศ
![]() ค่า μ สูงสุดที่ล้อทั้งสองยังคงสัมผัสกับพื้นดิน เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm \dfrac{w}{2h}\) |
B | \(\rm \dfrac{h}{2w}\) |
C | \(\rm \dfrac{2h}{w}\) |
D | \(\rm \dfrac{w}{h}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
30. | แบบจำลองอย่างง่ายของจักรยานมวล M สองล้อ แต่ละล้อสัมผัสพื้นที่จุดหนึ่ง และระยะฐานล้อ (ระยะจากจุดสัมผัสกับพื้นของล้อหนึ่งถึงอีกล้อหนึ่ง) เท่ากับ w มีจุดศูนย์กลางมวลของจักรยานอยู่กึ่งกลางระหว่างล้อและอยู่สูง h เหนือพื้นดิน สมมุติให้จักรยานกำลังเคลื่อนที่ไป ทางขวา แต่มีการชะลอตัวในอัตราคงที่ มีความเร่ง a และในที่นี้จะไม่สนแรงต้านอากาศ
![]() ค่า a สูงสุดที่ล้อทั้งสองยังคงสัมผัสกับพื้นดิน เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm \dfrac{wg}{h}\) |
B | \(\rm \dfrac{wg}{2h}\) |
C | \(\rm \dfrac{hg}{2w}\) |
D | \(\rm \dfrac{h}{2wg}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
31. | แบบจำลองอย่างง่ายของจักรยานมวล M สองล้อ แต่ละล้อสัมผัสพื้นที่จุดหนึ่ง และระยะฐานล้อ (ระยะจากจุดสัมผัสกับพื้นของล้อหนึ่งถึงอีกล้อหนึ่ง) เท่ากับ w มีจุดศูนย์กลางมวลของจักรยานอยู่กึ่งกลางระหว่างล้อและอยู่สูง h เหนือพื้นดิน สมมุติให้จักรยานกำลังเคลื่อนที่ไป ทางขวา แต่มีการชะลอตัวในอัตราคงที่ มีความเร่ง a และในที่นี้จะไม่สนแรงต้านอากาศ
![]() ถ้าทั้งสองล้อมีการลื่นไถล (หมายถึง มีการลื่นออกไปโดยไม่หมุน) แล้วค่า a สูงสุดที่ล้อทั้งสองยังคงสัมผัสกับพื้นดิน เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm \dfrac{wg}{h}\) |
B | \(\rm \dfrac{wg}{3h}\) |
C | \(\rm \dfrac{2wg}{3h}\) |
D | \(\rm \dfrac{hg}{2w}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
32. | ให้คานบางสม่ำเสมอ มวล m ยาว L อยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วง g โมเมนต์ความเฉื่อยในการหมุนของคานรอบจุดศูนย์กลางเท่ากับ md2 แล้วอัตราส่วน L/d เท่ากับข้อใด |
A | \(3\sqrt2\) |
B | \(3\) |
C | \(12\) |
D | \(2\sqrt3\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
33. | ให้คานบางสม่ำเสมอ มวล m ยาว L อยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วง g โมเมนต์ความเฉื่อยในการหมุนของคานรอบจุดศูนย์กลางเท่ากับ md2 ถ้าคานถูกแขวน ณ ตำแหน่งที่ห่างจากจุดศูนย์กลางไป kd และถูกสั่นเบาๆ ด้วยความถี่เชิงมุม β\(\sqrt{ \rm \dfrac{g}{d}}\) แล้วค่าของ β ในเทอมของ k เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm 1+k^2\) |
B | \(\rm \sqrt{1+k^2}\) |
C | \(\rm \sqrt{\dfrac{k}{1+k}}\) |
D | \(\rm \sqrt{\dfrac{k^2}{1+k}}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
34. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน. 1) ให้คานบางสม่ำเสมอ มวล m ยาว L อยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วง g โมเมนต์ความเฉื่อยในการหมุนของคานรอบจุดศูนย์กลางเท่ากับ md2 ถ้าคานถูกแขวน ณ ตำแหน่งที่ห่างจากจุดศูนย์กลางไป kd และถูกสั่นเบาๆ ด้วยความถี่เชิงมุม β\(\sqrt{ \rm \dfrac{g}{d}}\) ค่าของ β สูงสุด จะเท่ากับข้อใด |
A | \(1\) |
B | \(\sqrt2\) |
C | \(1/\sqrt2\) |
D | ไม่สามารถหาค่า β สูงสุดได้ |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
35. | วัตถุมวล m ผูกติดกับทรงกระบอก รัศมี R ด้วยเชือกเบา ที่เวลา t = 0 วัตถุมีความเร็วต้น v0 ในทิศตั้งฉากกับเชือกที่มีความยาวเชือก L0 และแรงตึงในเส้นเชือกไม่เท่ากับศูนย์ ให้ทุกการเคลื่อนที่เกิดขึ้นบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทานในแนวนอน ทรงกระบอกยังคงนิ่งอยู่บนพื้นและไม่มีการหมุน โดยวัตถุจะเคลื่อนหมุนวนไปรอบ ๆ ทรงกระบอก ซึ่งเชือกจะขาดเมื่อแรงตึงเชือกเกิน Tmax จงตอบคำถามในรูปของ Tmax , m, L0 , R , และ v0 ![]() |
A | \(\rm mv_0R\) |
B | \(\rm \dfrac{m^2v_0^3}{T_{max}}\) |
C | \(\rm mv_0L_0\) |
D | \(\rm \dfrac{T_{max}R^2}{v_0}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
36. | วัตถุมวล m ผูกติดกับทรงกระบอก รัศมี R ด้วยเชือกเบา ที่เวลา t = 0 วัตถุมีความเร็วต้น v0 ในทิศตั้งฉากกับเชือกที่มีความยาวเชือก L0 และแรงตึงในเส้นเชือกไม่เท่ากับศูนย์ ให้ทุกการเคลื่อนที่เกิดขึ้นบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทานในแนวนอน ทรงกระบอกยังคงนิ่งอยู่บนพื้นและไม่มีการหมุน โดยวัตถุจะเคลื่อนหมุนวนไปรอบ ๆ ทรงกระบอก ซึ่งเชือกจะขาดเมื่อแรงตึงเชือกเกิน Tmax จงตอบคำถามในรูปของ Tmax , m, L0 , R , และ v0 ![]() |
A | \(\rm \dfrac{mv^2_0}{2}\) |
B | \(\rm \dfrac{mv^2_0R}{2L_0}\) |
C | \(\rm \dfrac{mv^2_0R^2}{2L^2_0}\) |
D | \(\rm \dfrac{mv^2_0L_0^2}{2R^2}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
37. | วัตถุมวล m ผูกติดกับทรงกระบอก รัศมี R ด้วยเชือกเบา ที่เวลา t = 0 วัตถุมีความเร็วต้น v0 ในทิศตั้งฉากกับเชือกที่มีความยาวเชือก L0 และแรงตึงในเส้นเชือกไม่เท่ากับศูนย์ ให้ทุกการเคลื่อนที่เกิดขึ้นบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทานในแนวนอน ทรงกระบอกยังคงนิ่งอยู่บนพื้นและไม่มีการหมุน โดยวัตถุจะเคลื่อนหมุนวนไปรอบ ๆ ทรงกระบอก ซึ่งเชือกจะขาดเมื่อแรงตึงเชือกเกิน Tmax จงตอบคำถามในรูปของ Tmax , m, L0 , R , และ v0 ![]() |
A | \(\rm L_0 – πR\) |
B | \(\rm L_0 –2 πR\) |
C | \(\rm L_0 – \sqrt{18}πR\) |
D | \(\rm \dfrac{mv^2_0}{T_{max}}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
38. | ให้เชือกเบาที่มีความยืดหยุ่นตามกฎของฮุค จะขาดเมื่อมีแรงตึง Tmax หากนำเชือกมาตรึงปลายด้านหนึ่งไว้ ส่วนปลายอีกด้านผูกกับมวล 3m และมวลที่สองขนาด m ซึ่งเล็กกว่า และมีอัตราเร็วต้น v0 พุ่งเข้าชนกับมวลแรก แล้วติดไปด้วยกัน จึงทำให้เชือกถูกดึงจนขาดออก โดยพลังงานจลน์สุดท้ายของมวลทั้งสองจะเท่ากับศูนย์ ถ้าการชนนั้นเกิดขึ้นในหนึ่งมิติ และยืดหยุ่นสมบูรณ์ แล้วขณะเชือกขาดมวลแรกจะหลุดออกไปด้วยอัตราเร็วสุดท้าย vf สมมุติให้ทุกการเคลื่อนที่เกิดขึ้นในแนวนอนและพื้นไม่มีแรงเสียดทาน แล้วค่า vf / v0 เท่ากับข้อใด |
A | \(1/\sqrt{12}\) |
B | \(1/\sqrt{2}\) |
C | \(1/\sqrt{6}\) |
D | \(1/\sqrt{3}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
39. | ให้เชือกเบาที่มีความยืดหยุ่นตามกฎของฮุค จะขาดเมื่อมีแรงตึง Tmax หากนำเชือกมาตรึงปลายด้านหนึ่งไว้ ส่วนปลายอีกด้านผูกกับมวล 3m และมวลที่สองขนาด m ซึ่งเล็กกว่า และมีอัตราเร็วต้น v0 พุ่งเข้าชนกับมวลแรก แล้วติดไปด้วยกัน จึงทำให้เชือกถูกดึงจนขาดออก โดยพลังงานจลน์สุดท้ายของมวลทั้งสองจะเท่ากับศูนย์ ถ้าการชนนั้นเกิดขึ้นในหนึ่งมิติ และยืดหยุ่นสมบูรณ์ แล้วขณะเชือกขาดมวลแรกจะหลุดออกไปด้วยอัตราเร็วสุดท้าย vf สมมุติให้ทุกการเคลื่อนที่เกิดขึ้นในแนวนอนและพื้นไม่มีแรงเสียดทาน แล้วอัตราส่วนของพลังงานจลน์สุทธิของระบบของมวลทั้งสองหลังการชนแบบยืดยุ่นสมบูรณ์และเชือกได้ขาดออก กับ พลังงานจลน์เริ่มต้นของมวลที่สองก่อนเกิดการชน เท่ากับข้อใด |
A | 1/4 |
B | 1/3 |
C | 1/2 |
D | 3/4 |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
40. | นกบินเป็นเส้นตรง โดยเริ่มต้นบินด้วยอัตราเร็ว 10 m/s แล้วเพิ่มอัตราเร็วอย่างสม่ำเสมอจนถึง 18 m/s ได้ระยะทางทั้งหมด 40 m ความเร่งของนกเท่ากับข้อใด |
A | 0.1 m/s2 |
B | 0.2 m/s2 |
C | 2.0 m/s2 |
D | 2.8 m/s2 |
E | 5.6 m/s2 |
41. | แมลงสาบไต่อยู่ภายในลูกบาศก์ที่มีความยาวด้าน 3 m ถ้าแมลงสาบเริ่มจากมุมซ้ายล่างที่ด้านหลังของลูกบาศก์ แล้วไต่มาถึงมุมบนขวาที่ด้านหน้าของลูกบาศก์ แล้วการกระจัดของแมลงสาบเท่ากับข้อใด |
A | \(3\sqrt2 \rm ~m\) |
B | \(3^3\sqrt2 \rm ~m\) |
C | \(3\sqrt3 \rm ~m\) |
D | \(\rm 3m\) |
E | \(\rm 9m\) |
42. | จากกราฟตำแหน่งเทียบกับเวลาของวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ข้อใดคือความเร็ว ณ ขณะ t = 2 วินาที
![]() |
A | \(-2 \rm ~m/s\) |
B | \(-\dfrac{1}{2} \rm ~m/s\) |
C | \(0\rm ~m/s\) |
D | \(2\rm ~m/s\) |
E | \(4\rm ~m/s\) |
43. | กำหนดกราฟความเร็วเทียบกับเวลาของรถของเล่นที่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
![]() |
A | 3 m |
B | 5 m |
C | 6.5 m |
D | 7 m |
E | 7.5 m |
44. | กำหนดกราฟความเร็วเทียบกับเวลาของรถของเล่นที่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
![]() |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
45. | ปืนใหญ่ยิงกระสุนแบบโพรเจกไทล์บนพื้นราบ โดยยิงทำมุมขนาดต่างๆ ด้วยอัตราเร็วเดียวกัน ถ้าระยะตกไกลสุดของกระสุนในแนวราบเท่ากับ L แล้วระยะตกของกระสุนที่ยิงทำมุม \(\dfrac{\pi}{6}\) กับแนวราบ เท่ากับข้อใด ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ |
A | \(\dfrac{\sqrt 3}{2}\rm L\) |
B | \(\dfrac{1}{\sqrt 2}\rm L\) |
C | \(\dfrac{1}{\sqrt 3}\rm L\) |
D | \(\dfrac{1}{2}\rm L\) |
E | \(\dfrac{1}{3}\rm L\) |
46. | เลื่อนหิมะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2.0 m/s บนพื้นหิมะ ให้คนและเลื่อนมีมวลรวมกัน 120 kg และเด็กอีกคน (mเด็ก = 40 kg) พุ่งเข้ามาในทิศตรงข้ามกับเลื่อนหิมะ แล้วกระโดดขึ้นเลื่อนจากทางด้านหน้า ถ้าเด็กคนนั้นมีอัตราเร็วก่อนขึ้นไปบนเลื่อน 5.0 m/s แล้วอัตราเร็วใหม่ของเลื่อนจะเท่ากับข้อใด ไม่ต้องคิดผลของแรงเสียดทาน |
A | 0.25 m/s |
B | 0.33 m/s |
C | 2.75 m/s |
D | 3.04 m/s |
E | 3.67 m/s |
47. | ชายคนหนึ่งเล่นเครื่องเล่นโดยหันหลังพิงกับกำแพงของถังทรงกระบอกที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 8.0 m ถ้าถังหมุนรอบแกนที่ผ่านศูนย์กลางในอัตรา 45 รอบ/นาที แล้วนำพื้นใต้เท้าที่ชายคนนั้นยืนอยู่ออกไป จงหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตระหว่างกำแพงกับชายคนนั้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เขาไม่หล่นลงไป |
A | 0.0012 |
B | 0.056 |
C | 0.11 |
D | 0.53 |
E | 8.9 |
48. | บอลมวล m1 เคลื่อนที่ในทิศบวกตามแกน x ด้วยอัตราเร็วต้น v0 แล้วชนกับบอลมวล m2 ซึ่งเดิมอยู่นิ่ง หลังจากการชน บอลมวล m1 มีความเร็ว v1x \(\hat x\) + v1y\(\hat y\) และบอลมวล m2 มีความเร็ว v2x \(\hat x\) + v2y\(\hat y\) จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
I) 0 = m1v1x + m1v2x
II) m1v0 = m1v1y +m2v2y
III) 0 = m1v1y + m2v2y
IV) m1v0 = m1v1x + m1v1y
V) m1v0 = m1v1x + m2v2x
ข้อใดสอดคล้องกับระบบ |
A | I และ II |
B | III และ V |
C | II และ V |
D | III และ IV |
E | I และ III |
49. | จากการทดลองลากกล่องไม้หนักๆ ที่วางอยู่บนพื้นด้วยเครื่องชั่งสปริง ได้บันทึกแรงที่ใช้ในแต่ละครั้งกับความเร่งของบล็อกไม้ ดังนี้![]() แล้วมวลของกล่องไม้ควรเท่ากับข้อใด |
A | 3 kg |
B | 5 kg |
C | 10 kg |
D | 20 kg |
E | 30 kg |
50. | จากการทดลองลากกล่องไม้หนักๆ ที่วางอยู่บนพื้นด้วยเครื่องชั่งสปริง ได้บันทึกแรงที่ใช้ในแต่ละครั้งกับความเร่งของบล็อกไม้ ดังนี้
![]() |
A | 0.05 |
B | 0.07 |
C | 0.09 |
D | 0.5 |
E | 0.6 |
51. | แผ่นกลมสม่ำเสมอหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงที่รอบแกนที่ผ่านศูนย์กลาง และตั้งฉากกับระนาบแผ่นกลม และมีพลังงานจลน์เท่ากับ E ถ้าแผ่นกลมแบบเดียวกันหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมเดียวกัน แต่หมุนรอบแกนที่ขอบของแผ่นกลม (แกนยังคงตั้งฉากกับระนาบแผ่นกลม) แล้วพลังงานจลน์จะมีค่าเท่ากับข้อใด |
A | \(\dfrac{1}{2}\rm E\) |
B | \(\dfrac{3}{2}\rm E\) |
C | \(2\rm E\) |
D | \(3\rm E\) |
E | \(4\rm E\) |
52. | ติดมวลก้อนหนึ่งกับผนังด้วยสปริงที่มีค่านิจสปริง k ขณะสปริงมีความยาวตามปกติ มวลจะได้รับความเร็วต้นค่าหนึ่ง ทำให้สปริงสั่นด้วยแอมพลิจูด A ถ้าเปลี่ยนสปริงให้มีค่านิจสปริง 2k และมวลได้รับความเร็วต้นเท่าเดิม แล้วแอมพลิจูดของการสั่นเท่ากับข้อใด |
A | \(\dfrac{1}{2}\rm A\) |
B | \(\dfrac{1}{\sqrt 2}\rm A\) |
C | \(\sqrt{2}\rm A\) |
D | \(2\rm A\) |
E | \(2\rm A\) |
53. | เครื่องกักเก็บพลังงานประกอบด้วย มวลที่เหมือนกันสองชิ้นที่เชื่อมกันด้วยเชือก และจะหมุนรอบจุดศูนย์กลางมวล โดยพลังงานที่ถูกเพิ่มเข้ามาจะถูกเก็บไว้โดยการม้วนพันเชือกให้เชือกระหว่างมวลมีความยาวลดลง โดยไม่มีแรงภายนอกมากระทำ ถ้าเดิมเครื่องมีพลังงานจลน์ E และหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม ω จากนั้นเพิ่มพลังงานจนเครื่องหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม 2ω แล้วพลังงานจลน์ของเครื่องนี้จะมีค่าเท่ากับข้อใด |
A | \(\sqrt 2\rm E\) |
B | \(2\rm E\) |
C | \(2\sqrt 2\rm E\) |
D | \(4\rm E\) |
E | \(8\rm E\) |
54. | โต๊ะกลมสม่ำเสมอมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.0 m มวล 50.0 kg มีขาโต๊ะที่เบามากสูง 1.0 m และห่างกัน 3.0 m ถ้าช่างไม้คนหนึ่งไปนั่งที่ขอบโต๊ะ แล้วมวลมากสุดของช่างไม้ ที่ทำให้โต๊ะไม่กระดกเท่ากับข้อใด สมมุติว่าแรงที่ช่างไม้กระทำตั้งฉากกับโต๊ะ และกระทำที่ขอบโต๊ะเท่านั้น
![]() |
A | 67 kg |
B | 75 kg |
C | 81 kg |
D | 150 kg |
E | 350 kg |
55. | สปริงเบาที่มีค่านิจสปริง k ถูกจับตั้งขึ้นให้ปลายด้านหนึ่งติดอยู่กับพื้น ส่วนปลายด้านบนปล่อยอิสระ ถ้าปล่อยลูกบอลมวล m จากแนวตั้งให้ลงไปติดกับสปริง กล่าวคือ ลูกบอลพุ่งชนกับสปริงในแนวตั้ง แล้วเกิดการสั่นในแนวตั้ง ให้ y เป็นความสูงวัดจากปลายสปริงตอนที่ยังไม่ยืดไม่หด จงหาความเร่ง a ของมวลขณะที่สั่นและอยู่ที่ความสูง y เหนือปลายสปริงตอนที่ยังไม่ยืดไม่หด และให้ทิศลงเป็นลบ โดยไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ กำหนดให้ g คือ ความเร่งในการตกอย่างอิสระ และ v คือ อัตราเร็วที่ตำแหน่งนั้น |
A | a = mv2/y + g |
B | a = mv2/k – g |
C | a = (k/m)y – g |
D | a = – (k/m)y + g |
E | a = – (k/m)y – g |
56. | มวล m อยู่นิ่ง ณ จุดสมดุล ขณะถูกแขวนในแนวตั้งบนสปริงที่เดิมยาว L มีค่านิจสปริง k ดังรูป
![]() |
A | (a/g)L |
B | (g/a)L |
C | m(g + a)/k |
D | m(g – a)/k |
E | ma/k |
57. | วงแหวนสม่ำเสมอ รัศมี R อยู่คงที่ที่จุดหนึ่ง และให้อนุภาคหนึ่งอยู่ในแนวแกนกลางวงแหวนในระยะที่ไกลมาก ( เทียบกับ R ) และสามารถเข้าไปสู่วงแหวนด้วยอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงของวงแหวนได้ โดยอนุภาคนั้นจะมีอัตราเร็วสูงสุด v ถ้าเราเปลี่ยนวงแหวน ให้มีความหนาแน่นเชิงเส้นเท่าเดิม แต่มีรัศมี 2R แล้วทำการทดลองซ้ำ แล้วอัตราเร็วสูงสุดใหม่ของอนุภาคจะเท่ากับข้อใด |
A | \(\dfrac{1}{2}\rm v\) |
B | \(\dfrac{1}{\sqrt2}\rm v\) |
C | \(\rm v\) |
D | \(\sqrt2\rm v\) |
E | \(2\rm v\) |
58. | รถคันหนึ่งมีเครื่องยนต์ที่ให้กำลังคงที่ เมื่อเร่งเครื่องจากที่เดิมอยู่นิ่ง ที่เวลา t = 0 และมีความเร่งเท่ากับ a0 ที่เวลา t = t0 แล้วความเร่งที่ t = 2t0 เท่ากับข้อใด ไม่ต้องคำนึงพลังงานที่สูญเสียไปกับแรงเสียดทาน |
A | \(\dfrac{1}{2}\rm a_0\) |
B | \(\dfrac{1}{\sqrt2}\rm a_0\) |
C | \(\rm a_0\) |
D | \(\sqrt2\rm a_0\) |
E | \(2\rm a_0\) |
59. | ให้มอดุลัสของยังมีค่าเท่ากับ E ซึ่งค่านี้จะใช้วัดความแข็งของวัสดุ ถ้าวัสดุนั้นมีค่า E มากกว่า วัสดุนั้นก็จะมีความแข็งมากกว่า ลองพิจารณาคานเหล็กหน้าตัดสี่เหลี่ยมมุมฉาก ที่ปลายด้านหนึ่งถูกตรึงตามแนวนอนกับกำแพง และสามารถเอียงตามน้ำหนักของตัวคานได้ ถ้าคานยาว L, หนา h, กว้าง w, ความหนาแน่น ρ, และมอดุลัสของยังเท่ากับ E ความเร่งโน้มถ่วงเท่ากับ g แล้วระยะทางที่ปลายอีกข้างหนึ่งเคลื่อนที่ไปจะเท่ากับข้อใด (คำแนะนำ: อาจจะใช้การตัดตัวเลือกที่ไม่น่าจะเป็นได้ออกก่อน ซึ่งตัวเลือกทั้งหมดมีหน่วยถูกต้อง) |
A | \(\rm h ~exp\left(\dfrac{ρgL}{E}\right)\) |
B | \(\rm 2\dfrac{ρgL^2}{E}\) |
C | \(\rm \sqrt{2Lh}\) |
D | \(\rm \dfrac{3}{2}\dfrac{ρgL^4}{Eh^2}\) |
E | \(\rm \sqrt{3}\dfrac{EL}{\rho gh}\) |
60. | พิจารณาอนุภาคที่เดิมอยู่นิ่ง แล้วแตกตัวออกเป็นสองอนุภาค หรือสามอนุภาค แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นจริงสำหรับการแตกตัวเป็นสองอนุภาค แต่เป็นเท็จสำหรับการแตกตัวเป็นสามอนุภาค (ไม่มีแรงภายนอกใดมากระทำ) |
A | เวกเตอร์ความเร็วของอนุภาคที่แตกออกมาจะอยู่ในระนาบเดียวเท่านั้น |
B | ถ้ากำหนดพลังงานจลน์สุทธิของระบบ และมวลของแต่ละอนุภาคที่แตกออกมาให้ ก็สามารถหาอัตราเร็วของแต่ละอนุภาคได้ |
C | ถ้ากำหนดอัตราเร็วของทั้งหมด แต่ไม่บอกของหนึ่งอนุภาคที่แตกออกมาให้ ก็สามารถหาอัตราเร็วของอนุภาคที่เหลือได้ |
D | โมเมนตัมรวมของอนุภาคที่แตกออกมาจะเท่ากับศูนย์ |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
ตอบ (B)
ข้อ | แตกเป็น 2 อนุภาค | แตกเป็น 3 อนุภาค |
(A) | เป็นจริง เพราะ 2 เวกเตอร์ จะอยู่ในระนาบเดียวกันเสมอ | เป็นจริง เพราะ ในกรณีที่มี 2 เวกเตอร์อยู่ในระนาบเดียวกัน แต่เวกเตอร์ที่ 3 ไม่อยู่ในระนาบดังกล่าว ก็จะเกิด component ของเวกเตอร์ในแนวตั้งฉากกับระนาบ ทำให้ผลรวมเวกเตอร์ไม่มีทางเป็น 0 ดังนั้น เวกเตอร์ความเร็ว 3 เวกเตอร์ ต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน |
(B) | เป็นจริง เพราะ จากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม
m1v1 = m2v2
และพลังงานรวม
\({\rm{E = }}\dfrac{{\rm{1}}}{{\rm{2}}}{{\rm{m}}_{\rm{1}}}{\rm{v}}_{\rm{1}}^{\rm{2}} + \dfrac{{\rm{1}}}{{\rm{2}}}{{\rm{m}}_{\rm{2}}}{\rm{v}}_2^{\rm{2}}\)
สังเกตว่า 2 สมการ 2 ตัวแปร สามารถหาความเร็วของแต่ละอนุภาคได้ |
เป็นเท็จ เพราะ จากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม
m1v1 + m2v2 + m3v3 = 0
และพลังงานรวม
\({\rm{E = }}\displaystyle\sum\limits_{i = 1}^3 {\frac{{\rm{1}}}{{\rm{2}}}{{\rm{m}}_{\rm{i}}}{\rm{v}}_i^{\rm{2}}}\)
สังเกตว่า 2 สมการ มากกว่า 2 ตัวแปร ไม่สามารถหาความเร็วของแต่ละอนุภาคได้ |
(C) | เป็นเท็จ เพราะจากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม
\(\begin{align*} {{\rm{m}}_{\rm{1}}}{{\rm{v}}_{\rm{1}}} &= {{\rm{m}}_{\rm{2}}}{{\rm{v}}_{\rm{2}}}\\ {{\rm{v}}_{\rm{2}}} &= \frac{{{{\rm{m}}_{\rm{2}}}}}{{{{\rm{m}}_{\rm{1}}}}}{{\rm{v}}_{\rm{1}}} \end{align*}\)
ถ้าไม่ทราบ m1, m2 ก็ไม่สามารถหา v2 |
เป็นเท็จ เพราะจากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม
\({{\rm{m}}_{\rm{1}}}{\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{1}}}{\rm{ + }}{{\rm{m}}_{\rm{2}}}{\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{2}}}{\rm{ + }}{{\rm{m}}_{\rm{3}}}{\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{3}}}{\rm{ = 0}}\)
ทราบเพียงขนาดของ \({\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{1}}}\) และ \({\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{2}}}\)ไม่ทราบ m1, m2, m3 และทิศทางของ \({\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{1}}},{\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{2}}},{\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{3}}}\) จึงไม่สามารถหาขนาดของ \({\overrightarrow {\rm{v}} _{\rm{3}}}\) ได้ |
(D) | เป็นจริง เพราะไม่มีแรงภายนอกมากระทำ จึงใช้กฎอนุรักษ์โมเมนตัมได้ ดังนั้น โมเมนตัมรวมของอนุภาคที่แตกออกมาจะเท่ากับศูนย์ |
เป็นจริง เพราะไม่มีแรงภายนอกมากระทำ จึงใช้กฎอนุรักษ์โมเมนตัมได้ ดังนั้น โมเมนตัมรวมของอนุภาคที่แตกออกมาจะเท่ากับศูนย์ |
61. | กระสุนมวล m1 ชนกับลูกตุ้มมวล m2 ที่ห้อยลงมาจากเชือกยาว L ด้วยความเร็วตามแนวนอน v0 ถ้าการชนนี้ไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์และกระสุนฝังเข้าด้านในลูกตุ้ม แล้วความเร็วต่ำสุดของ v0 ที่ทำให้ลูกตุ้ม (พร้อมกระสุนที่อยู่ภายใน) หมุนวนเป็นวงกลมตามแนวตั้งเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm 2\sqrt{Lg}\) |
B | \(\rm \sqrt{5Lg}\) |
C | \(\rm (m_1+m_2)2\sqrt{Lg}/m_1\) |
D | \(\rm (m_1-m_2)\sqrt{Lg}/m_2\) |
E | \(\rm (m_1+m_2)\sqrt{5Lg}/m_1\) |
62. | ถ้าดาวทรงกลมสม่ำเสมอสองดวง มีความหนาแน่นเท่ากัน แต่รัศมีไม่เท่ากัน แล้วปริมาณในข้อใดที่ดาวทั้งสองจะมีค่าเท่ากัน |
A | ความเร็วหลุดพ้นที่ผิวของดาว |
B | ความเร่งโน้มถ่วงที่ผิวของดาว |
C | คาบในการโคจรของดาวเทียม เหนือผิวดาวพอดีในวงโคจรวงกลม |
D | คาบในการโคจรของดาวเทียม ที่ระยะห่างใดๆ จากจุดศูนย์กลาง ในวงโคจรวงกลม |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
63. | ยิงบอลขึ้นฟ้าจากพื้นด้วยอัตราเร็วต้นในแนวตั้ง v0 และบอลที่ตกกลับลงมาจะกระเด้งกับพื้นในแนวตั้ง เนื่องจากการชนนั้นไม่ยืดหยุ่น บอลจึงสูญเสียความเร็วไปตามสัดส่วนค่าหนึ่งทุกครั้งที่เกิดการกระเด้ง เช่น ถ้าอัตราเร็วก่อนกระทบพื้นคือ v แล้วอัตราเร็วหลังกระทบพื้นจะเท่ากับ rv โดยค่าคงที่ r < 1 แล้วเวลารวมที่บอลเคลื่อนที่ไปได้จะเท่ากับข้อใด สมมุติว่าเวลาที่บอลกระทบพื้นสั้นมาก |
A | \(\rm \dfrac{2 v_0}{g} \dfrac{1}{1-r}\) |
B | \(\rm \dfrac{v_0}{g} \dfrac{r}{1-r}\) |
C | \(\rm \dfrac{2v_0}{g} \dfrac{1-r}{r}\) |
D | \(\rm \dfrac{2v_0}{g} \dfrac{1}{1-r^2}\) |
E | \(\rm \dfrac{2v_0}{g} \dfrac{1}{1+(1-r)^2}\) |
64. | ดาวเทียมสองดวงถูกยิงออกจากตำแหน่ง R จากศูนย์กลางดาวเคราะห์ที่มีรัศมีเล็กมาก และดาวเทียมทั้งสองถูกยิงออกไปในทิศตั้งฉากกับเส้นรัศมี ถ้าดาวเทียมดวงแรกถูกยิงด้วยอัตราเร็ว v0 และเข้าสู่วงโคจรวงกลม ส่วนดาวเทียมดวงที่สองถูกยิงด้วยอัตราเร็ว \(\dfrac{1}{2}\)v0 แล้วระยะใกล้สุดของดาวเทียมที่สองกับดาวเคราะห์ขณะอยู่ในวงโคจรเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm\dfrac{1}{\sqrt2}R\) |
B | \(\rm\dfrac{1}{2}R\) |
C | \(\rm\dfrac{1}{3}R\) |
D | \(\rm\dfrac{1}{4}R\) |
E | \(\rm\dfrac{1}{7}R\) |
65. | ถ้าก้อนดินขนาดใหญ่หล่นออกจากกำแพงลงสู่พื้นดิน แล้วกราฟข้อใด แสดงความเร่งที่จุดศูนย์กลางมวลของก้อนดินกับเวลา ได้ดีที่สุด |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
66. | บล็อกสม่ำเสมอมวล 10 kg เดิมอยู่นิ่งถูกปล่อยลงมาจากพื้นเอียงที่มีความยาว 10 m เอียง 30◦ และเคลื่อนที่ลงมาจนถึงด้านล่าง ถ้าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์เท่ากับ μs = μk = 0.1 พลังงานที่สูญเสียไปกับแรงเสียดทานเท่ากับข้อใด |
A | 0 J |
B | 22 J |
C | 43 J |
D | 87 J |
E | 164 J |
67. | มวล 3.0 kg เคลื่อนที่ 40 m/s ไปทางขวาเกิดการพุ่งชนแล้วติดไปกับมวล 2.0 kg ที่กำลังเคลื่อนที่ไปทางขวา 20 m/s หลังเกิดการชน พลังงานจลน์ของระบบเท่ากับข้อใด หลังการชน |
A | 600 J |
B | 1200 J |
C | 2600 J |
D | 2800 J |
E | 3400 J |
68. | ให้ลูกบาสที่เดิมอยู่นิ่งถูกปล่อยลงมากระแทกพื้น ถ้าพิจารณาเฉพาะลูกบาสในช่วงก่อนและหลังกระแทกพื้น แล้วข้อความใดต่อไปนี้เป็นจริง |
A | โมเมนตัม และพลังงานสุทธิของลูกบาสจะถูกอนุรักษ์ไว้ |
B | โมเมนตัมของลูกบาสจะถูกอนุรักษ์ไว้ แต่พลังงานจลน์ไม่ถูกอนุรักษ์ไว้ |
C | พลังงานสุทธิของลูกบาสจะถูกอนุรักษ์ไว้ แต่โมเมนตัมไม่ถูกอนุรักษ์ไว้ |
D | พลังงานจลน์ของลูกบาสจะถูกอนุรักษ์ไว้ แต่โมเมนตัมไม่ถูกอนุรักษ์ไว้ |
E | พลังงานจลน์ และโมเมนตัมของลูกบาสไม่ได้ถูกอนุรักษ์ไว้ |
69. | ฮาร์ดดิสก์ในคอมพิวเตอร์จะหมุนถึงอัตราเร็วที่ต้องการภายใน 10 รอบ แต่เมื่อปิดเครื่องมันจะหมุนได้ถึง 50 รอบ ก่อนหยุดลง สมมุติว่า ฮาร์ดดิสก์มีความเร่งเชิงมุม α1 ในช่วงแรก และช่วงการชะลอมีความเร่งเชิงมุม α2 แล้วอัตราส่วน α1 / α2 เท่ากับข้อใด |
A | \(\dfrac{1}{5}\) |
B | \(\dfrac{1}{\sqrt5}\) |
C | \(\sqrt5\) |
D | \(5\) |
E | \(25\) |
70. | คานเบายาว L ถูกตรึงด้านหนึ่งไว้ และมีแรงกด F กระทำที่ปลายคานด้านที่ไม่ถูกตรึง จนคานยุบลงไปเป็นระยะ x โดยที่ระยะที่ยุบลงไปเป็น x นี้แปรผันตรงกับขนาดของ F และเป็นสัดส่วนผกผันกับโมเมนตัดขวาง I ซึ่งมีหน่วย m4 การยุบนี้ยังขึ้นอยู่กับมอดุลัสของยัง E ซึ่งมีหน่วย N / m2 แล้ว x จะแปรผันตรงกับ L อย่างไร |
A | \(\rm x ∝ \sqrt L\) |
B | \(\rm x ∝ L\) |
C | \(\rm x ∝ L^2\) |
D | \(\rm x ∝ L^3\) |
E | \(\rm x ∝ L^4\) |
71. | ให้ลูกตุ้มยาว L แกว่งอยู่ภายในกล่องใบหนึ่ง หากมีคนยกกล่องขึ้นมาแล้วค่อยๆ เขย่าในแนวตั้งด้วยความถี่ ω และให้แอมพลิจูดคงที่ตามช่วงเวลาหนึ่งที่กำหนด แล้วแอมพลิจูดสุดท้ายของลูกตุ้มจะมีค่ามากที่สุด เมื่อ ω เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm ω = \sqrt{4g/L}\) |
B | \(\rm ω = \sqrt{2g/L}\) |
C | \(\rm ω = \sqrt{g/L}\) |
D | \(\rm ω = \sqrt{g/4L}\) |
E | \(ω\) ไม่มีผลต่อแอมพลิจูดของลูกตุ้มอย่างมีนัยสำคัญ |
72. | ให้สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์ระหว่างลูกบอลและพื้นเท่ากับ μs = μk = μ ถ้าตอนเริ่มต้นบอลได้รับอัตราเร็วในแนวนอน โดยไม่มีความเร็วเชิงมุมรอบจุดศูนย์กลางมวล แล้วกราฟในข้อใด แสดงความเร็วเชิงมุมของลูกบอลรอบจุดศูนย์กลางมวลเทียบกับเวลา ได้ดีที่สุด |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
73. | บอลมวล 3.0 kg เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออก 10 m/s แล้วชนแบบยืดหยุ่นกับบอลมวล 2.0 kg ที่กำลังเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตก 15 m/s แล้วข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง หลังเกิดการชน |
A | บอลทั้งสองจะพุ่งไปทางทิศตะวันออก |
B | บอลมวล 3.0 kg เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตก 15 m/s |
C | บอลมวล 2.0 kg เคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือ 10 m/s |
D | บอลมวล 3.0 kg หยุดนิ่ง |
E | บอลมวล 2.0 kg เคลื่อนที่ไปทางทิศใต้ 15 m/s |
74. | ให้ลูกโป่งที่มีอากาศบรรจุไว้จมลงในน้ำที่ความลึก h และมีแรงลอยตัว B0 เมื่อลูกโป่งจมลงที่ความลึก 2h จะมี แรงลอยตัว B สมมุติว่า น้ำไม่สามารถบีบอัดได้ แต่ลูกโป่งและอากาศสามารถบีบอัดได้ แล้วแรงลอยตัว B จะเป็นไปตามข้อใด |
A | B ≥ 2B0 |
B | B0 < B < 2B0 |
C | B = B0 |
D | B < B0 |
E | คำตอบขึ้นกับแรงบีบอัดของลูกโป่งและอากาศ |
75. | วงเชือกถูกหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม ω0 ในอวกาศคลื่นตามขวางในเส้นเชือกมีอัตราเร็วเชิงมุม v0 เมื่อวัดในกรอบอ้างอิงที่หมุนไปพร้อมกับเชือก (เห็นเชือกอยู่นิ่งในกรอบอ้างอิงนี้) ถ้าเพิ่มความเร็วเชิงมุมของเชือกเป็นสองเท่า แล้วอัตราเร็วใหม่ของคลื่นตามขวางที่วัดในกรอบอ้างอิงที่หมุนไปพร้อมกับเชือก (เห็นเชือกอยู่นิ่งในกรอบอ้างอิงนี้) จะเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm v_0\) |
B | \(\sqrt 2 \rm v_0\) |
C | \(2\rm v_0\) |
D | \(4\rm v_0\) |
E | \(8 \rm v_0\) |
76. | ให้เด็กคนหนึ่งยืนอยู่ในสถานีอวกาศวงกลมที่กำลังหมุนอยู่ ถ้าเขาโยนลูกบอลไปในทิศทางหนึ่งขณะสถานีอวกาศกำลังหมุน แล้วลูกบอลย้อนกลับมาหาเขาหลังสถานีอวการหมุนไปได้ครึ่งรอบ แล้ววิถีของลูกบอลจากจุดที่เด็กคนนั้นเห็นจะเป็นไปตามข้อใด ให้เด็กยืนอยู่ที่ด้านล่างของสถานีอวกาศ แต่รูปจะแสดงเฉพาะตำแหน่งเริ่มต้นของลูกบอลเท่านั้น |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
77. | ให้กล่องสองอัน มีมวล m1 = 2.0 และ m2 = 1.0 วางซ้อนกันบนโต๊ะลื่น ดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตระหว่างกล่องทั้งสองเท่ากับ μs = 0.20 แล้วแรงในแนวนอนน้อยสุดที่กระทำกับกล่องด้านบน เพื่อให้กล่องด้านบนไถลไปบนกล่องล่างเท่ากับข้อใด
![]() |
A | 4.0 N |
B | 6.0 N |
C | 8.0 N |
D | 12.0 N |
E | กล่องบนจะไม่มีทางไถลไปบนกล่องล่าง |
78. | หลอดด้ายทำจากทรงกระบอกและมีแผ่นวงกลมบางๆ ติดหัวท้ายกระบอก ดังรูป ให้ทรงกระบอกมีรัศมี r = 0.75 cm แผ่นวงกลมแต่ละวงมีรัศมี R = 1.00 cm และมีเชือกพันรอบแกนหลอดด้ายสองสามรอบ แล้วขนาดของ θ ที่ดึงเชือกแล้วหลอดด้ายจะเคลื่อนที่โดยไม่หมุนเท่ากับข้อใด
![]() |
A | 31.2° |
B | 41.4° |
C | 54.0° |
D | 60.8° |
E | 81.5° |
79. | ถ้าคุณยืนถือหนังสือฟิสิกส์เล่มใหญ่อยู่บนเครื่องชั่ง แล้วอ่านน้ำหนักได้ 700 นิวตัน ขณะยืนนิ่งอยู่ และที่เวลา t = 1 s คุณเริ่มยกหนังสือขึ้น จน t = 2 s หนังสืออยู่สูงขึ้นไปครึ่งเมตรแล้วหยุดนิ่งอีกครั้ง แล้วกราฟในข้อใด แสดงน้ำหนักที่อ่านได้เทียบกับเวลาได้ดีที่สุด |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
80. | เครื่องบินจะบินโดยใช้การเอียงบริเวณขอบส่วนปลายปีกของเครื่องลงด้วยมุมเล็ก ๆ θ เรียกว่า มุมที่สร้างแรงยกตัว ขณะออกบิน ถ้าเครื่องบินมีอัตราเร็วบนพื้นดิน v แล้วแรงยกตัวจะแปรผันตาม v2θ และแรงฉุดเพื่อเอาชนะแรงต้านอากาศจะแปรผันตาม v2 พิจารณาเครื่องบินที่อยู่บนระดับความสูงหนึ่ง และมีอัตราเร็วคงที่ตอนอยู่บนพื้นดิน v ถ้ามีลมพัดจากหางไปยังหัวเครื่องบินด้วยความเร็ว w < v (ขนาดของ w วัดเทียบกับพื้นดิน) ( อากาศจะช่วยดันเครื่องบิน ให้บินไปยังทิศที่เราต้องการ ) แล้วกำลังของเครื่องยนต์ และมุมที่สร้างแรงยกตัวจะเปลี่ยนไปอย่างไร เพื่อให้ความเร็วของเครื่องบินยังคงบินในแนวระดับด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม |
A | กำลังของเครื่องยนต์จะลดลง และมุมที่สร้างแรงยกตัวจะลดลง |
B | กำลังของเครื่องยนต์จะลดลง และมุมที่สร้างแรงยกตัวจะเท่าเดิม |
C | กำลังของเครื่องยนต์จะลดลง และมุมที่สร้างแรงยกตัวจะเพิ่มขึ้น |
D | กำลังของเครื่องยนต์จะเพิ่มขึ้น และมุมที่สร้างแรงยกตัวจะลดลง |
E | กำลังของเครื่องยนต์จะเพิ่มขึ้น และมุมที่สร้างแรงยกตัวจะเพิ่มขึ้น |
81. | ไม้กระโดดจำลองประกอบด้วยสปริงเบามีค่านิจสปริง k ติดที่ด้านล่างของบล็อกมวล m ให้ไม้กระโดดถูกปล่อยลง โดยสปริงจะกระแทกพื้นด้วยอัตราเร็ว v หลังจากการกระแทกแล้ว ส่วนปลายด้านล่างของสปริงจะถูกยึดติดกับพื้น
![]() |
A | \(\rm v\) |
B | \(\rm v + 2mg^2/kv\) |
C | \(\rm v + mg^2/kv\) |
D | \(\rm \sqrt{v + 2mg^2/kv}\) |
E | \(\rm \sqrt{v + mg^2/kv}\) |
82. | ให้สปริงที่มีความยาวตามปกติ l1 มีค่านิจสปริง k1 วางขนานกับสปริงที่มีความยาวตามปกติ l2 และมีค่านิจสปริง k2 และมีแรง F กระทำในแต่ละด้าน
![]() |
A | k = k1 + k2 และ l = l1l2/(l1 + l2) |
B | k = k1 + k2 และ l = ( l1 k1 + l2 k2 )/( k1 + k2 ) |
C | k = k1 + k2 และ l = ( l1 k2 + l2 k1 )/( k1 + k2 ) |
D | k = ( l1 k1 + l2 k2 )/ (l1+l2) และ l = ( l1 k1 + l2 k2 )/( k1 + k2 ) |
E | k = ( l2 k1 + l1 k2 )/ (l1+l2) และ l = ( l1 k2 + l2 k1 )/( k1 + k2 ) |
83. | (เกินหลักสูตรสอบเข้า สอวน.) ในการทดสอบอัตราเร็วเสียง นักเรียนคนหนึ่งวัดระยะทางที่คลื่นเสียงเดินทางไปได้ 75.0 ± 2.0 cm และใช้เวลาในการเดินทาง 2.15 ± 0.10 ms สมมุติว่าความคลาดเคลื่อนมีการกระจายตัวแบบ Gaussian (มีการแจกแจงแบบปกติ) แล้วอัตราเร็วที่คำนวณได้ควรเท่ากับข้อใด |
A | 348.8 ± 0.5 m/s |
B | 348.8 ± 0.8 m/s |
C | 349 ± 8 m/s |
D | 349 ± 15 m/s |
E | 349 ± 19 m/s |
84. | ให้เชือกที่แข็งแรงและสม่ำเสมอยาว L วางราบบนโต๊ะที่มีความยาว L/3 และมีสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน μs = 1/7 โดยทั้งสองด้านของโต๊ะจะมีเชือกยาว L/3 เลยออกมาจากโต๊ะเท่ากัน ให้เชือกพาดผ่านขอบโต๊ะที่โค้งและมีความลื่น และไร้แรงเสียดทาน สมมุติว่า เราดึงปลายเชือกด้านหนึ่งที่ห้อยอยู่เป็นระยะ x แล้วปล่อยไว้นิ่งๆ โดยปลายเชือกทั้งสองด้านยังไม่แตะพื้น แล้วค่า x มากสุดที่เชือกจะไม่หล่นลงมาเท่ากับข้อใด |
A | L/42 |
B | L/21 |
C | L/14 |
D | 2L/21 |
E | 3L/14 |
85. | คานสม่ำเสมอยาว L มวล M มีจุดหมุนอยู่ที่ระยะ x ห่างจากศูนย์กลางคาน ถ้าคานที่เดิมอยู่นิ่งถูกปล่อยลงมาจากตำแหน่งในแนวนอน แล้วคาบของการแกว่งจะน้อยสุดเมื่อ x เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm x = L/2\) |
B | \(\rm x = L/2\sqrt3\) |
C | \(\rm x = L/4\) |
D | \(\rm x = L/4\sqrt3\) |
E | \(\rm x = L/12\) |
86. | ให้มวล m สองอัน เชื่อมติดกันบนรอก ดังรูป
![]() |
A | ยังคงอยู่นิ่ง |
B | จะสั่นในแนวตั้ง และมีการเคลื่อนที่สุทธิในทิศขึ้น |
C | จะสั่นในแนวตั้ง และมีการเคลื่อนที่สุทธิในทิศลง |
D | จะสั่นในแนวตั้ง โดยไม่มีการเคลื่อนที่สุทธิ |
E | จะสั่นในแนวนอน โดยไม่มีการเคลื่อนที่สุทธิ |
87. | ให้มวล m1 และ m2 เชื่อมกันด้วยคานแข็งเบายาว L วางราบบนโต๊ะลื่น ที่เวลา t = 0 มวลก้อนแรกได้รับแรงดลในทิศตั้งฉากกับคาน จนมีอัตราเร็ว v ในขณะนั้นมวลก้อนที่สองยังคงอยู่นิ่ง แล้วมวลก้อนที่สองจะหยุดนิ่งอีกครั้งตอน t เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm t = 2πL / v\) |
B | \(\rm t = π ( m_1 + m_2 )L / m_2v \) |
C | \(\rm t = 2πm_2L / ( m_1 + m_2 )v\) |
D | \(\rm t = 2πm_1m_2L / ( m_1 + m_2 )^2v\) |
E | \(\rm t = 2πm_1L / ( m_1 + m_2 )v \) |
88. | มวล m ถูกวางที่จุดศูนย์กลางของครึ่งทรงกลมบางที่มีรัศมี R และมีมวลหนาแน่น σ โดย σ มีหน่วย kg/m2
![]() |
A | \(\rm (1/3) (πGmσ)\) |
B | \(\rm (2/3) (πGmσ) \) |
C | \(\rm (1/\sqrt2) (πGmσ) \) |
D | \(\rm (3/4) (πGmσ)\) |
E | \(\rm πGmσ\) |
89. | ไม้บรรทัด และวัดความยาวท่อได้ 1.00 ± 0.01 m โดยใช้ไม้เมตร หากต้องการให้ผลลัพธ์แม่นยำขึ้น เราสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้
วิธีที่ 1 : เปลี่ยนจากไม้บรรทัด เป็น คาลิปเปอร์ ที่มีความคลาดเคลื่อน 0.01 cm
วิธีที่ 2 : เปลี่ยนจากไม้เมตร เป็น ตลับเมตร ที่มีความคลาดเคลื่อน 0.001 m
วิธีที่ 3 : วัดใหม่ โดยแยกเป็นสิบครั้งแล้วหาค่าเฉลี่ยของผลลัพธ์
ข้อใดเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนของแต่ละวิธีได้ถูกต้องที่สุด |
A | วิธีที่ 3 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด ในขณะที่วิธีที่ 1 และ 2 มีความคลาดเคลื่อนเท่ากัน |
B | วิธีที่ 3 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด ในขณะที่วิธีที่ 1 และ 2 มีความคลาดเคลื่อนเท่ากัน |
C | วิธีที่ 1 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด และวิธีที่ 2 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด |
D | วิธีที่ 2 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด และวิธีที่ 1 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด |
E | วิธีที่ 2 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด และวิธีที่ 3 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด |
90. | กราฟข้อใด แสดงอัตราเร็วกับเวลาของวัตถุที่ถูกขว้างขึ้นไปโดยมีแรงต้านอากาศ ได้ดีที่สุด |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
91. | มวล 3.0 kg เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ว 30 m/s พุ่งชนกับมวล 2.0 kg ที่เคลื่อนที่ไปทางซ้ายด้วยอัตราเร็ว 20 m/s หลังการชน จุดศูนย์กลางมวลของระบบจะเคลื่อนที่ไปด้วยอัตราเร็วเท่าใด |
A | 5 m/s |
B | 10 m/s |
C | 20 m/s |
D | 24 m/s |
E | 26 m/s |
92. | ให้บอลลูกแรกเคลื่อนที่ไปตามแกน x แล้วชนกับบอลลูกที่สองที่เดิมอยู่นิ่ง และมีมวลเท่ากัน แล้วหลังเกิดการชนข้อใดกล่าวผิด |
A | โมเมนตัมสุดท้ายสุทธิตามแกน x จะเท่ากับโมเมนตัมเริ่มต้นของบอลลูกแรก |
B | พลังงานจลน์สุทธิหลังเกิดการชน จะเท่ากับพลังงานจลน์เริ่มต้นของบอลลูกแรก |
C | โมเมนตัมสุดท้ายของลูกบอลทั้งสองตามแกน y ที่ถูกเพิ่มเข้ามาจะเป็นศูนย์ |
D | อัตราเร็วสุดท้ายของจุดศูนย์กลางมวลของลูกบอลทั้งสอง มีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของอัตราเร็วต้นของบอลลูกแรก |
E | ลูกบอลทั้งสองจะไม่สามารถหยุดนิ่ง หลังเกิดการชนกันได้ |
93. | ให้ดาวเทียมอยู่ในวงโคจรวงรีรอบโลก และเครื่องยนต์สามารถให้แรงดลค่าหนึ่งได้เพียงครั้งเดียว เพื่อให้ดาวเทียมได้พลังงานมากที่สุด แรงดลควรเป็นไปตามข้อใด
![]() |
A | ควรมีทิศตามความเร็วของดาวเทียม และใช้ขณะอยู่จุดใกล้สุด |
B | ควรมีทิศตามความเร็วของดาวเทียม และใช้ขณะอยู่จุดไกลสุด |
C | ควรมีทิศพุ่งเข้าหาโลก และใช้ขณะอยู่จุดใกล้สุด |
D | ควรมีทิศพุ่งเข้าหาโลก และใช้ขณะอยู่จุดไกลสุด |
E | ควรมีทิศพุ่งออกจากโลก และใช้ขณะอยู่จุดไกลสุด |
94. | มวลสองอันถูกแขวนอยู่บนรอกด้วยเชือกเบา และรอกนั้นตั้งอยู่บนพื้นเอียง ดังรูป ถ้าทุกพื้นผิวไม่มีแรงเสียดทาน และมวลทั้งสองที่เดิมอยู่นิ่งถูกปล่อยออก แล้วพื้นเอียงจะเป็นไปตามข้อใด
![]() |
A | จะมีความเร่งไปทางซ้าย ถ้า m1 < m2 |
B | จะมีความเร่งไปทางขวา ถ้า m1 < m2 |
C | จะมีความเร่งไปทางซ้าย โดยไม่สนมวลที่ถูกแขวนไว้ |
D | จะมีความเร่งไปทางขวา โดยไม่สนมวลที่ถูกแขวนไว้ |
E | พื้นเอียงไม่เคลื่อนที่ไปไหน |
95. | ลังใส่ของมวล m = 15 kg ถูกดันขึ้นไปบนทางลาดที่ความยาว 5.00 m และทำมุม 20° กับแนวราบ ด้วยแรง F = 1.00 ×103 N ในทิศที่ขนานกับทางลาด และแรงเสียดทานที่ต้านการเคลื่อนที่เท่ากับ f = 4.00 × 102 N ถ้าเดิมลังอยู่นิ่ง แล้วอัตราเร็วของลัง ณ จุดบนสุดของทางลาดเท่ากับข้อใด |
A | 4.24 m/s |
B | 5.11 m/s |
C | 7.22 m/s |
D | 8.26 m/s |
E | 9.33 m/s |
96. | ให้รถมีความเร่งมากสุดเท่ากับ a0 และความเร่งต่ำสุดเท่ากับ – a0 แล้วเวลาสั้นสุดที่ทำให้รถที่เดิมอยู่นิ่งวิ่งไปหยุดที่ระยะทาง d เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm \sqrt{d/2a_0}\) |
B | \(\rm \sqrt{d/a_0}\) |
C | \(\rm \sqrt{2d/a_0}\) |
D | \(\rm \sqrt{3d/2a_0}\) |
E | \(2\rm \sqrt{d/a_0}\) |
97. | แผ่นกลมรัศมี r กลิ้งอย่างสม่ำเสมอโดยไม่มีการไถล วนอยู่ภายในห่วงที่ถูกตรึงไว้ และห่วงมีรัศมี R ถ้าคาบการกลิ้ง ของแผ่นกลมเท่ากับ T แล้วอัตราเร็วขณะหนึ่งของจุดที่อยู่ตรงข้ามกับจุดที่แผ่นกลมสัมผัสกับห่วงเท่ากับข้อใด ![]() |
A | \(\rm 2π(R + r)/T\) |
B | \(\rm 2π(R + 2r)/T\) |
C | \(\rm 4π(R – 2r)/T\) |
D | \(\rm 4π(R– r)/T\) |
E | \(\rm 4π(R + r)/T\) |
98. | แท่งไม้สม่ำเสมอมวล m เดิมวางราบอยู่บนพื้น ปลายด้านหนึ่งมีเชือกผูกไว้ เมื่อดึงเชือกขึ้นในแนวตั้งด้วยแรงตึงคงที่ F แล้วจุดศูนย์กลางมวลของแท่งไม้จะเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง a < g แล้วแรงปกติ N ที่พื้นกระทำกับแท่งไม้ในอีกด้านที่ไม่ถูกยกขึ้น หลังจากที่แท่งไม้ด้านขวาถูกยกขึ้นเหนือพื้นดินเพียงนิดเดียว เท่ากับข้อใด |
A | N = mg |
B | mg > N > mg/2 |
C | N = mg/2 |
D | mg/2 > N > 0 |
E | N = 0 |
99. | กราฟข้อใด แสดงความเร่งกับเวลาของวัตถุที่เคลื่อนที่ขึ้นไปโดยมีแรงต้านอากาศได้ดีที่สุด |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
100. | ให้สปริงเบาในอุดมคติถูกตรึงปลายด้านหนึ่งไว้ ส่วนปลายอีกด้านติดมวลไว้ แล้วสปริงจะสั่นด้วยความถี่เชิงมุม ω ถ้าปลายสปริงถูกตรึงไว้ทั้งสองด้าน แล้วตัดแบ่งครึ่งเพื่อนำมวลไปติดไว้กึ่งกลางระหว่างสปริงทั้งสอง
![]() |
A | \(ω/2\) |
B | \(ω\) |
C | \(\sqrt2ω\) |
D | \(2ω\) |
E | \(4ω\) |
101. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) นักเรียนกลุ่มหนึ่งต้องการวัดความเร่งโน้มถ่วงด้วยลูกตุ้มอย่างง่าย พวกเขาใช้ลูกตุ้มที่มีความยาว L = 1.00 ± 0.05 m และวัดคาบของการแกว่งในหนึ่งครั้งได้ T = 2.00 ± 0.10 s ถ้าสมมุติว่า ทุกความคลาดเคลื่อนมีการกระจายตัวแบบ Gaussian (มีการแจกแจงแบบปกติ) แล้วความเร่งโน้มถ่วงที่คำนวณจากผลการทดลองนี้ ควรได้ค่าตามข้อใด |
A | 9.87 ± 0.05 m/s2 |
B | 9.87 ± 0.15 m/s2 |
C | 9.9 ± 0.25 m/s2 |
D | 9.9 ± 1.1 m/s2 |
E | 9.9 ± 1.5 m/s2 |
102. | ให้เชือกเบามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.54 cm (1 นิ้ว) ถูกแขวนในแนวราบ และอยู่ระหว่างต้นไม้สองต้นที่ห่างกัน 18.0 m แล้วนักไต่เชือกคนหนึ่งเดินไปที่จุดกึ่งกลางของเชือกและทำให้เกิดแรงตึง 7300 N จนเชือกหย่อนลงมาทำมุม 1.50° กับแนวราบ
![]() |
A | 1.5 × 106 N/m2 |
B | 2.0 × 108 N/m2 |
C | 2.2 × 109 N/m2 |
D | 2.4 × 1010 N/m2 |
E | 4.2 × 1010 N/m2 |
103. | ให้มวลที่เหมือนกันสามชิ้นเชื่อมกับคานแข็งแบบเดียวกัน และมีจุดหมุนที่จุด A เมื่อมวลก้อนล่างสุดถูกดันในแนวนอนเบาๆ ไปทางซ้าย จะเกิดการแกว่งด้วยคาบ T1 เมื่อเปลี่ยนเป็นดันเบาๆ ที่ด้านหน้าแบบตั้งฉากกับกระดาษ จะได้คาบของการแกว่งเท่ากับ T2 แล้วอัตราส่วน T1/T2 เท่ากับข้อใด
![]() |
A | \(1/2\) |
B | \(1\) |
C | \(\sqrt3\) |
D | \(2\sqrt2\) |
E | \(2\sqrt5\) |
104. | ถ้ายานอวกาศที่อยู่ในวงโคจรวงกลมรอบโลก มีคาบในการโคจรยาวนาน เพราะได้รับผลกระทบจากแรงต้านอากาศ ซึ่งทำให้พลังงานสุทธิของยานอวกาศลง 1 J แล้วพลังงานจลน์ของดาวเทียมจะเป็นไปตามข้อใด |
A | จะเพิ่มขึ้น 1 J |
B | ยังคงเท่าเดิม |
C | จะลดลง \(\frac{1}{2}\) J |
D | จะลดลง 1 J |
E | จะลดลง 2 J |
105. | สถานีอวกาศทรงกระบอกสามารถสร้าง “แรงโน้มถ่วงเทียม” จากการหมุนด้วยความถี่เชิงมุม ω ให้พิจารณาในกรอบอ้างอิงที่สถานีอวกาศกำลังหมุน ถ้านักบินอวกาศเดิมยืนนิ่งอยู่บนพื้น และหันหน้าไปในทิศที่สถานีอวกาศกำลังหมุน แล้วเขากระโดดขึ้นในแนวตั้งเทียบกับพื้นด้วยอัตราเร็วต้นที่น้อยกว่าอัตราเร็วของพื้น แล้วหลังหลุดออกจากพื้น การเคลื่อนที่ของเขาเทียบกับพื้นของสถานีอวกาศจะเป็นไปตามข้อใด
![]() |
A | จะมีส่วนประกอบของความเร่ง ที่มีทิศชี้ไปยังพื้นเสมอ และจะตกกลับมาที่จุดเดิมที่เคยกระโดดขึ้น |
B | จะมีส่วนประกอบของความเร่ง ที่มีทิศชี้ไปยังพื้นเสมอ และจะตกกลับมาหน้าจุดเดิมที่เคยกระโดดขึ้น |
C | จะมีส่วนประกอบของความเร่ง ที่มีทิศชี้ไปยังพื้นเสมอ และจะตกกลับมาหลังจุดเดิมที่เคยกระโดดขึ้น |
D | จะมีส่วนประกอบของความเร่ง ที่มีทิศชี้ออกจากพื้นเสมอ และจะตกกลับมาหลังจุดเดิมที่เคยกระโดดขึ้น |
E | จะมีความเร่งเป็นศูนย์เมื่อเทียบกับพื้น และเขาจะไม่กลับมาสู่พื้นอีก |
106. | มีทรายร่วงลงมาเป็นสายจากเฮลิคอปเตอร์ที่เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยอัตราเร็วคงที่ v แล้วเปลี่ยนทิศกระทันหันไปทางซ้ายแล้วมีอัตราเร็วคงที่ v ถ้าไม่คิดถึงแรงต้านอากาศ แล้วรูปร่างของสายทรายที่มองเห็นจากพื้นดิน จะเป็นไปตามข้อใด ให้จุดสีดำ คือ เฮลิคอปเตอร์ |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
107. | มวล m ติดกับคานบางยาว l ซึ่งสามารถหมุนเป็นวงกลมในแนวตั้งได้อย่างอิสระด้วยคาบ T แล้วผลต่างของแรงตึงบนคานขณะมวลแกว่งอยู่ที่ด้านบนของวงกลม กับที่ด้านล่างของวงกลมจะเท่ากับข้อใด |
A | \(\text{6mg}^2\text{T}^2/l\) |
B | \(4π\text{mg}^2\text{T}^2/l\) |
C | \(6\rm mg\) |
D | \(π^2\text{m}l / \rm T^2 \) |
E | \(4π\text{m}l / \rm T^2\) |
108. | ให้ปริมาณฝนที่ตกมีความหนาแน่น n หยดต่อลูกบาศก์เมตร หยดฝนมีรัศมี r0 กระทบพื้นด้วยอัตราเร็ว v0 ความดันบนพื้นดินที่เกิดจากฝนเท่ากับ P0 ถ้าปริมาณความหนาแน่นของฝนเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า แต่หยดฝนมีรัศมีลดลงครึ่งหนึ่ง อัตราเร็วลดลงครึ่งหนึ่ง แล้วความดันใหม่จะเท่ากับข้อใด |
A | P0 |
B | P0/2 |
C | P0/4 |
D | P0/8 |
E | P0/16 |
109. | เมื่อยืดสปริงให้ยาวเป็นสองเท่าของความยาวตามปกติ จะมีพลังงานศักย์ U0 ถ้าตัดสปริงครึ่งหนึ่ง แล้วนำแต่ละส่วนมายืดให้ยาวเป็นสองเท่าของความยาวตามปกติ แล้วพลังงานศักย์สุทธิของสปริงทั้งสองเท่ากับข้อใด |
A | 4U0 |
B | 2U0 |
C | U0 |
D | U0/2 |
E | U0/4 |
110. | ลูกปิงปอง (ทรงกลมกลวง) มวล m อยู่บนพื้นและมีความเร็วต้น v0 มีอัตราเร็วเชิงมุมเป็นศูนย์ที่เวลา t = 0 สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานระหว่างลูกปิงปองกับพื้นเป็น μs = μk = μ แล้วเวลาที่ลูกปิงปองจะเริ่มกลิ้งโดยไม่ลื่นไถลเท่ากับข้อใด
![]() |
A | t = (2/5)v0/μg |
B | t = (2/3)v0/μg |
C | t = v0/μg |
D | t = (5/3)v0/μg |
E | t = (3/2)v0/μg |
111. | เรือทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากมีรูรั่วเล็กๆ อยู่ที่ใต้ท้องเรือ ทำให้มีน้ำไหลเข้ามา และเรือก็ค่อยๆจมลงในน้ำ แล้วกราฟข้อใดแสดงอัตราการไหลของน้ำที่ไหลเข้ามาในเรือเทียบกับเวลา (leak rate) ได้ดีที่สุด สมมุติให้ขณะจมลง เรือยังคงอยู่ในแนวราบ
![]() |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
112. | ให้สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์สถิตระหว่างลูกบอลและทางลาดเท่ากับ μs = μk = μ ถ้าลูกบอลที่เดิมอยู่นิ่ง ถูกปล่อยลงมาจากด้านบนของทางลาด แล้วกราฟข้อใดแสดงความเร่งเชิงมุมของลูกบอลที่จุดศูนย์กลางมวล เทียบกับขนาดมุมของทางลาดได้ดีที่สุด |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
113. | ให้มวลติดที่ปลายด้านหนึ่งของคานแข็ง และอีกด้านของคานติดกับเพลาลื่นในแนวนอนที่สามารถหมุนได้รอบ 360° มวลถูกแขวนที่ปลายคาน และคานอยู่ในแนวตั้ง ให้มวลจะมีพลังงานจลน์เริ่มต้น K ถ้า K มีขนาดเล็กมาก มวลก็จะเปรียบเสมือนลูกตุ้ม เมื่อสั่นด้วยมุมเล็กๆ จะได้คาบของการแกว่ง T0 แล้วกรณีที่ K เพิ่มขึ้น คาบของมวลจะเป็นไปตามข้อใด |
A | ยังคงเท่าเดิม |
B | เพิ่มขึ้น และเข้าใกล้ค่าหนึ่งที่หาค่าได้ |
C | ลดลง และเข้าใกล้ค่าหนึ่งที่ไม่ใช่ศูนย์ และหาค่าได้ |
D | ลดลง และเข้าใกล้ศูนย์ |
E | ตอนแรกจะเพิ่มขึ้น แล้วลดลง |
114. | (เกินหลักสูตรสอบเข้า สอวน.) ก และ ข กำลังเขียนรายงานผลการทดลอง โดย ก วัดคาบของลูกตุ้มได้ 1.013 ± 0.008 s ในขณะที่ ข วัดได้คาบ 0.997 ± 0.016 s ซึ่งทั้งคู่สามารถสรุปข้อมูลที่ได้ตามวิธีต่อไปนี้
วิธีที่ 1 : ใช้ข้อมูลของ ก โดยไม่สนของ ข
วิธีที่ 2 : ใช้ค่าเฉลี่ยของข้อมูล ก และ ข
วิธีที่ 3 : ใช้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของข้อมูล ก และ ข โดยถ่วงให้ ก มีน้ำหนักมากกว่า ข อยู่ 4 เท่า
ข้อใดสรุป ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธ์ในแต่ละวิธี ได้ดีที่สุด |
A | วิธีที่ 1 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด ส่วนวิธีที่ 2 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด |
B | วิธีที่ 3 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด ส่วนวิธีที่ 2 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด |
C | วิธีที่ 2 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด ส่วนวิธีที่ 1 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด |
D | วิธีที่ 3 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด ส่วนวิธีที่ 1 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด |
E | วิธีที่ 1 มีความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุด ส่วนวิธีที่ 3 มีความคลาดเคลื่อนสูงที่สุด |
115. | แอปเปิ้ลขนาด 0.3 kg เดิมอยู่นิ่ง ร่วงลงมาจากความสูง 40 cm ลงบนพื้นราบ และหยุดนิ่งใน 0.1 s พื้นผิวที่ตกกระแทกพื้นเท่ากับ 4 cm2 แล้วความดันเฉลี่ยของแอปเปิ้ลขณะตกกระแทกพื้นเท่ากับข้อใด ไม่ต้องคำนึงถึงแรงต้านอากาศ |
A | 67,000 Pa |
B | 21,000 Pa |
C | 6,700 Pa |
D | 210 Pa |
E | 67 Pa |
116. | วัตถุที่เหมือนกัน 3 ชิ้น ถูกวางโต๊ะที่ไม่มีแรงเสียดทาน ดังรูป ให้มวลที่อยู่ตรงกลางอยู่นิ่ง ส่วนอีกสองชิ้นพุ่งเข้าหาวัตถุที่อยู่ตรงกลางด้วยอัตราเร็ว v เหมือนกัน โดยวัตถุที่อยู่ตรงกลางจะอยู่ใกล้กับวัตถุทางซ้ายมากกว่าทางขวา และการเคลื่อนที่ทั้งหมดเกิดขึ้นหนึ่งมิติ ตามแนวนอน
![]() |
A | วัตถุตรงกลาง จะเคลื่อนที่ไปทางซ้าย |
B | วัตถุตรงกลาง จะเคลื่อนที่ไปทางขวา |
C | วัตถุตรงกลาง หยุดนิ่งอยู่ทางด้านซ้ายของตำแหน่งเริ่มต้น |
D | วัตถุตรงกลาง หยุดนิ่งอยู่ที่ตำแหน่งเริ่มต้น |
E | วัตถุตรงกลาง หยุดนิ่งอยู่ทางด้านขวาของตำแหน่งเริ่มต้น |
117. | วัตถุที่เหมือนกัน 3 ชิ้น ถูกวางโต๊ะที่ไม่มีแรงเสียดทาน ดังรูป ให้มวลที่อยู่ตรงกลางอยู่นิ่ง ส่วนอีกสองชิ้นพุ่งเข้าหาวัตถุที่อยู่ตรงกลางด้วยอัตราเร็ว v เหมือนกัน โดยวัตถุที่อยู่ตรงกลางจะอยู่ใกล้กับวัตถุทางซ้ายมากกว่าทางขวา และการเคลื่อนที่ทั้งหมดเกิดขึ้นหนึ่งมิติ ตามแนวนอน
![]() |
A | วัตถุตรงกลาง จะเคลื่อนที่ไปทางซ้าย |
B | วัตถุตรงกลาง จะเคลื่อนที่ไปทางขวา |
C | วัตถุตรงกลาง หยุดนิ่งอยู่ทางด้านซ้ายของตำแหน่งเริ่มต้น |
D | วัตถุตรงกลาง หยุดนิ่งอยู่ที่ตำแหน่งเริ่มต้น |
E | วัตถุตรงกลาง หยุดนิ่งอยู่ทางด้านขวาของตำแหน่งเริ่มต้น |
118. | นักบินอวกาศมวล 80 kg นั่งอยู่บนยานอวกาศที่กำลังเข้าใกล้พื้นโลก ถ้ายานอวกาศมีความเร่งในทิศขึ้นตั้งฉากกับพื้นโลกเป็นห้าเท่าของความเร่งโน้มถ่วง แล้วแรงที่นักบินกระทำกับยานอวกาศจะเท่ากับข้อใด |
A | 4800 N |
B | 4000 N |
C | 3200 N |
D | 800 N |
E | 400 N |
119. | ดาวเทียมขนาดเท่ากันสามดวง A, B และ C อยู่ในวงโคจรของดาวเคราะห์ ตามรูป ถ้าขนาดของโมเมนตัมเชิงมุมของดาวเทียมที่วัดจากดาวเคราะห์ เท่ากับ LA , LB และ LC แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
![]() |
A | LA > LB > LC |
B | LC > LB > LA |
C | LB > LC > LA |
D | LB > LA > LC |
E | การจัดลำดับขนาดจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับช่วงเวลานั้นๆ |
120. | วัตถุถูกโยนด้วยอัตราเร็วต้นคงที่ v0 ด้วยมุมที่แตกต่างกัน α กับแนวราบ ที่ความสูงคงที่ค่าหนึ่ง h เหนือจุดยิง อัตราเร็ว v ของวัตถุจะมีค่าตามฟังก์ชันของมุมเริ่มต้น α ข้อใดอธิบาย v ที่เปลี่ยนไปตามมุม α ได้ดีที่สุด (สมมุติว่า มีความสูง h ตามเงื่อนไข และไม่มีแรงต้านอากาศ) |
A | v จะเพิ่มขึ้นเป็นลำดับทางเดียวตาม α |
B | v จะเพิ่มขึ้นถึงค่าวิกฤต vmax ค่าหนึ่ง หลังจากนั้นจะลดลง |
C | v จะคงที่ โดยไม่ขึ้นกับ α |
D | v จะลดลงถึงค่าวิกฤต vmin ค่าหนึ่ง หลังจากนั้นจะเพิ่มขึ้น |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
121. | นกตัวหนึ่งบินเป็นเส้นตรง โดยตอนแรกบิน 10 m/s แล้วเพิ่มอัตราเร็วอย่างสม่ำเสมอจนถึง 15 m/s ได้ระยะทางทั้งหมด 25 m ความเร่งของนกเท่ากับข้อใด |
A | 5.0 m / s2 |
B | 2.5 m / s2 |
C | 2.0 m / s2 |
D | 0.5 m / s2 |
E | 0.2 m / s2 |
122. | ให้แผ่นกลมหมุนรอบแกนที่ผ่านจุดศูนย์กลาง และตั้งฉากกับระนาบของแผ่นกลม ด้วยความเร็วเชิงมุมตามกราฟด้านล่าง
![]() |
A | – 12 rad / s2 |
B | – 8 rad / s2 |
C | – 4 rad / s2 |
D | – 2 rad / s2 |
E | 0 rad / s2 |
123. | ให้แผ่นกลมหมุนรอบแกนที่ผ่านจุดศูนย์กลาง และตั้งฉากกับระนาบของแผ่นกลม ด้วยความเร็วเชิงมุมตามกราฟด้านล่าง
![]() |
A | 9 rad |
B | 8 rad |
C | 6 rad |
D | 4 rad |
E | 3 rad |
124. | ชายคนหนึ่งยืนอยู่ที่ขอบประตูหนีไฟ เขาขว้างแอปเปิ้ลสองลูกพร้อมกัน โดยอันหนึ่งโยนขึ้นด้วยอัตราเร็ว 7 m/s และอีกอันขว้างลงด้วยอัตราเร็วเท่ากัน ระยะห่างของแอปเปิ้ลทั้งสองที่ วินาทีที่ 2 หลังโยนออกไปเท่ากับข้อใด สมมุติว่าทั้งสองยังไม่ตกถึงพื้น |
A | 14 m |
B | 20 m |
C | 28 m |
D | 34 m |
E | 56 m |
125. | มวล 2.25 kg มีการเร่งอัตราเร็วดังกราฟ งานที่กระทำกับมวลได้เท่ากับข้อใด![]() |
A | 36 J |
B | 22 J |
C | 5 J |
D | – 17 J |
E | – 36 J |
126. | แบทแมนมวล M = 100 kg ปีนขึ้นดาดฟ้าสูง 30 m จากนั้นโยนเชือกเบาให้โรบินจับไว้ แล้วดึงโรบินที่มีมวลประมาณ 75 kg ขึ้นมาบนดาดฟ้า งานสุทธิที่แบทแมนทำหลังโรบินขึ้นมาบนดาดฟ้าได้เท่ากับข้อใด |
A | 60 J |
B | 7 × 103 J |
C | 5 × 104 J |
D | 600 J |
E | 3 × 104 J |
127. | ก (มวล 33.1 kg) ข (มวล 63.7 kg) และ ค (มวล 24.3 kg) นั่งห่างกันบนกระดานหกสม่ำเสมอที่มีน้ำหนักเบา เว้นระยะห่าง 2.74 m ตามลำดับ (ข อยู่ระหว่าง ก และ ค) ทำให้กระดานหกสมดุล ใครมีทอร์กบนกระดานหกมากที่สุด (ในแง่ของขนาด) ไม่ต้องสนมวลของกระดานหก |
A | ก |
B | ข |
C | ค |
D | ทั้งสามมีทอร์กเท่ากัน |
E | ข้อมูลไม่เพียงพอต่อการตอบคำถาม |
128. | บล็อคไม้ (มวล M) ถูกแขวนบนเชือกเบาที่ถูกปักหมุดไว้ กระสุนที่มาด้วยอัตราเร็ว (มีมวล m และอัตราเร็วต้น v0) ชนกับบล็อคที่เวลา t = 0 และฝังอยู่ในนั้น ถ้า S เป็นระบบที่ประกอบด้วย บล็อกและกระสุน แล้วปริมาณใดที่ถูกอนุรักษ์ไว้ในช่วง t = –10 s ถึง t = +10 s
![]() |
A | โมเมนตัมเชิงเส้นรวมของ S |
B | องค์ประกอบในแนวนอนของ โมเมนตัมเชิงเส้นของ S |
C | พลังงานกลของ S |
D | โมเมนตัมเชิงมุมของ S ที่วัดเทียบกับแกนตั้งฉากกับหมุด |
E | ไม่มีปริมาณใดถูกอนุรักษ์ไว้ |
129. | กระเป๋าเดินทาง 22.0 kg ถูกลากด้วยอัตราเร็วคงที่ 1.10 m/s เป็นเส้นตรง โดยนักเรียนคนหนึ่งที่จะไปสอบ IPhO ครั้งที่ 40 ที่ประเทศเม็กซิโก ถ้าเขาลากกระเป๋าที่สนามบินด้วยแรง 1.00×102 N เอียงทำมุมสูง 30.0 องศากับแนวระดับ แล้วสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ ระหว่างกระเป๋าเดินกับพื้นเท่ากับข้อใด |
A | μk = 0.013 |
B | μk = 0.394 |
C | μk = 0.509 |
D | μk = 0.866 |
E | μk = 1.055 |
130. | วัตถุมวล m สองอันที่เหมือนกัน นำไปติดที่ปลายทั้งสองของสปริง ที่มีค่านิจสปริง k และวางอยู่บนพื้นที่ไม่แรงเสียดทานในแนวนอน แล้วที่ความถี่เชิงมุม ω ขณะระบบสั่นเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm\sqrt{k/m}\) |
B | \(\rm\sqrt{2k/m}\) |
C | \(\rm\sqrt{k/2m}\) |
D | \(2\rm\sqrt{k/m}\) |
E | \(\rm\sqrt{k/m}/2\) |
131. | ถ้าคุณมีก้อนมวลมาตรฐาน 1 กิโลกรัม และส้อมเสียงในหน่วย Hz นอกจากนี้คุณยังมีเครื่องมือในห้องปฏิบัติการครบเซต แต่เป็นเครื่องมือที่ไม่ได้ให้ค่าในหน่วย SI และไม่ทราบค่าคงที่พื้นฐานใดๆ แล้วปริมาณใดที่สามารถวัดในหน่วย SI ได้ |
A | ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง |
B | อัตราเร็วแสงในสุญญากาศ |
C | ความหนาแน่นของน้ำอุณหภูมิห้อง |
D | ค่านิจสปริงของสปริงที่กำหนด |
E | ความดันอากาศในห้อง |
132. | ลูกตุ้มอย่างง่ายมีเชือกเบาความยาว L แขวนวัตถุมวล m กับจุดหมุนหนึ่ง และปักหมุดเล็กๆ ขวางไว้ใต้จุดหมุนที่ 2L/3 เพื่อให้ลูกตุ้มแกว่งตามรูป ถ้าจับมวลออกไป 5 องศากับแนวตั้ง แล้วปล่อยออก จะต้องใช้เวลานานเท่าใด ลูกตุ้มจึงจะกลับมาที่จุดเริ่มต้น
![]() |
A | \(\rm\pi\sqrt{\dfrac{L}{g}}\left(1+\sqrt{\dfrac{2}{3}}\right)\) |
B | \(\rm\pi\sqrt{\dfrac{L}{g}}\left(2+\dfrac{2}{\sqrt{3}}\right)\) |
C | \(\rm\pi\sqrt{\dfrac{L}{g}}\left(1+\dfrac{1}{3}\right)\) |
D | \(\rm\pi\sqrt{\dfrac{L}{g}}\left(1+\sqrt{3}\right)\) |
E | \(\rm\pi\sqrt{\dfrac{L}{g}}\left(1+\dfrac{1}{\sqrt{3}}\right)\) |
133. | ถ้ากองหลังฟุตบอลสามารถโยนลูกฟุตบอลไปได้ไกลสุด 80 เมตรตามแนวราบ แล้วลูกฟุตบอลที่ถูกโยนไปได้ไกลสุดจะมีจุดสูงสุดเท่ากับข้อใด ไม่ต้องสนแรงต้านอากาศ |
A | 10 m |
B | 20 m |
C | 30 m |
D | 40 m |
E | 50 m |
134. | พิจารณาการชนแบบไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ของวัตถุสองก้อน ถ้าก้อนที่ 1 มีมวล m และ เคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือด้วยอัตราเร็ว v0 ส่วนก้อนที่ 2 มีมวล 3m เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยอัตราเร็ว v0/2 แล้วอัตราเร็วสุดท้ายหลังการชนเท่ากับข้อใด ไม่ต้องคำนึงถึงแรงโน้มถ่วง และถือว่าวัตถุทั้งสองติดไปด้วยกันหลังการชน |
A | \(\rm7/6v_0\) |
B | \(\rm\sqrt5/8v_0\) |
C | \(\rm\sqrt{13}/8v_0\) |
D | \(\rm5/8v_0\) |
E | \(\rm\sqrt{13/8}v_0\) |
135. | ดาวสองดวงโคจรรอบมวลศูนย์กลางหนึ่ง ดังรูป โดยมวลของดาวเท่ากับ 3M และ M และดาวทั้งสองดวงห่างกัน d
![]() |
A | \(\rm-\dfrac{GM^2}{d}\) |
B | \(\rm\dfrac{3GM^2}{d}\) |
C | \(\rm-\dfrac{GM^2}{d^2}\) |
D | \(\rm-\dfrac{3GM^2}{d}\) |
E | \(\rm-\dfrac{3GM^2}{d^2}\) |
136. | ดาวสองดวงโคจรรอบมวลศูนย์กลางหนึ่ง ดังรูป โดยมวลของดาวเท่ากับ 3M และ M และดาวทั้งสองดวงห่างกัน d
![]() |
A | \(\rm \pi\sqrt{\dfrac{d^3}{GM}}\) |
B | \(\rm \dfrac{3\pi}{4}\sqrt{\dfrac{d^3}{GM}}\) |
C | \(\rm \pi\sqrt{\dfrac{d^3}{3GM}}\) |
D | \(\rm 2\pi\sqrt{\dfrac{d^3}{GM}}\) |
E | \(\rm \dfrac{\pi}{4}\sqrt{\dfrac{d^3}{GM}}\) |
137. | นำมวลติดกับสปริงอุดมคติ และสปริงมีความยาวตามปกติ ที่เวลา t = 0 มวลได้รับความเร็วต้น ถ้าคาบการสั่นแบบซิมเปิลฮาร์มอนิกเท่ากับ T แล้ว ณ เวลาใดที่สปริงจะกระทำกับมวลด้วยกำลังที่มากที่สุดเป็นครั้งแรก |
A | t = 0 |
B | t = T/8 |
C | t = T/4 |
D | t = 3T/8 |
E | t = T/2 |
138. | บล็อกไม้สี่เหลี่ยมผืนผ้าสม่ำเสมอมวล M ยาว b สูง a อยู่พื้นเอียงดังรูป บล็อกและพื้นเอียงมีสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน μs และพื้นเอียงทำมุม θ กับแนวระดับ ในบางมุมวิกฤติบล็อกอาจพลิกลง หรือไถลไปตามพื้นเอียงก็ได้ จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง a, b และ μs ที่ทำให้บล็อกพลิกลง (และไม่ไถล) ที่มุมวิกฤติ อย่าลืมว่า บล็อกเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และ a ≠ b
![]() |
A | μs > a/b |
B | μs > 1 – a/b |
C | μs > b/a |
D | μs < a/b |
E | μs < b/a – 1 |
139. | แผ่นดิสก์สองแผ่น มีแกนหมุนเบาเสียบที่จุดศูนย์กลางและตั้งฉากกับแผ่นพอดี โดยแกนหมุนจะต้องอยู่ในแนวตั้งตลอดเวลา และดิสก์สามารถหมุนบนแกนได้โดยไม่มีแรงเสียดทาน ถ้าดิสก์หนาเท่ากัน และทำจากวัสดุเดียวกัน แต่รัศมีแตกต่างกันเป็น r1 และ r2 ดิสก์จะมีความเร็วเชิงมุมเป็น ω1 และ ω2 ตามลำดับ เมื่อนำขอบดิสก์มาสัมผัสกัน จะเกิดแรงเสียดทานจนกระทั่งสองแผ่นหยุดชะงัก แล้วข้อใดสรุปความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นได้ถูกต้อง ไม่ต้องคำนึงผลที่เกิดจากแกนหมุนแนวตั้ง
![]() |
A | ω12r1 = ω22r2 |
B | ω1r1 = ω2r2 |
C | ω1r12 = ω2r22 |
D | ω1r13 = ω2r23 |
E | ω1r14 = ω2r24 |
140. | ขี่มอเตอร์ไซค์ไต่รอบถังทรงกลมขนาดใหญ่ ถ้าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานระหว่างยางมอเตอร์ไซค์กับผนัง คือ μ แล้ว μ น้อยสุดที่ทำให้มอเตอร์ไซค์ไม่หล่นลงไปเท่ากับข้อใด ตอบในรูป μ ที่แปรผันกับอัตราเร็ว s ของมอเตอร์ไซค์ |
A | \(\rm\mu \propto {s^0}\) |
B | \(\rm\mu \propto {s^{ - 1/2}}\) |
C | \(\rm\mu \propto {s^{ - 1}}\) |
D | \(\rm\mu \propto {s^{ - 2}}\) |
E | ไม่มีข้อใดถูก |
141. | มวล m ถูกแขวนด้วยสปริงเบาที่ติดอยู่เพดานภายในของกล่องมวล M ขณะกล่องอยู่นิ่งระบบสปริงจะสั่นในแนวตั้งด้วยความถี่เชิงมุม ω ถ้าปล่อยกล่องให้ตกลงอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วง แล้วความถี่เชิงมุมจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร |
A | ω จะไม่เปลี่ยนแปลง |
B | ω จะเพิ่มขึ้น |
C | ω จะลดลง |
D | การสั่นจะไม่เกิดขึ้น ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว |
E | ω จะเปลี่ยนแปลง โดยขึ้นกับมวล M และ m |
142. | ลูกบอลเล็กรัศมี R มวล m ถูกใส่เข้าไปในบอลใหญ่เปลือกบางที่มีมวลเท่ากัน แต่มีรัศมี 2R ให้ตอนแรกลูกบอลเล็กอยู่ที่ผิวด้านข้างของลูกบอลใหญ่ และยังไม่เสียดสีกับพื้นในแนวนอน จากนั้นปล่อยลูกบอลเล็กให้กลิ้งภายในบอลใหญ่ จนหยุดที่ด้านล่างของลูกบอลใหญ่ แล้วลูกบอลใหญ่จะกลิ้งไปได้เท่าไร จากจุดเริ่มต้นที่สัมผัสพื้น
![]() |
143. | รถแบบเดียวกันหลายคันกำลังติดไฟแดงบนถนนหนึ่งเลน ซึ่งจอดต่อกันเป็นแถวเดียว และมีระยะหว่างระหว่างคันเท่ากัน เมื่อขึ้นไฟเขียว รถคันแรกไปทิศขวาด้วยความเร่งคงที่ แล้วรถคันที่สองก็วิ่งแบบเดียวกันใน 0.2 วินาที ให้หลัง และรถคันถัดไปก็จะวิ่งอย่างเดียวกัน ถ้ารถทุกคันเร่งความเร็ว จนมีอัตราเร็ว 45 km/hr จากนั้นวิ่งไปทิศขวาด้วยอัตราเร็วคงที่ พิจารณาการเรียงแถวของรถยนต์ ตามรูป
![]() |
A | เปลี่ยนจาก I ไป II ไป III |
B | เปลี่ยนจาก I ไป II ไป IV |
C | เปลี่ยนจาก I ไป IV ไม่มี II และ III |
D | เปลี่ยนจาก I ไป II |
E | เปลี่ยนจาก I ไป III |
144. | ยิงปืนด้วยอัตราเร็ว v0 ออกจากขอบหน้าผาสูง h ทำมุม θ กับแนวนอน โดยไม่คำนึงถึงแรงต้านอากาศ จงหา θ ที่ทำให้กระสุนพุ่งออกไปในแนวราบได้ไกลที่สุด |
A | 45° < θ < 90° |
B | θ = 45° |
C | 0° < θ < 45° |
D | θ = 0° |
E | θ < 45° หรือ 45° < θ ขึ้นกับค่า h และ v0 |
145. | กำหนดคานสองคาน มีเชือกเบา 7 เส้น ผูกอยู่ในตำแหน่งต่างๆ ดังรูป ถ้ามวลของวัตถุ M1 = 400 g, M2 = 200 g และ M4 = 500 กรัม แล้วมวล M3 มีค่าเท่าใด เมื่อคานอยู่ในสภาวะสมดุล
![]() |
146. | รถไฟเดิมมีมวล M เคลื่อนที่ไปตามแนวราบโดยไม่มีแรงเสียดทาน และมีอัตราเร็วคงที่ เมื่อหิมะเริ่มตกลงมาเกาะรถไฟด้วยอัตรา ρ โดย ρ มีหน่วย kg/s ซึ่งรถไฟจะต้องรักษาระดับอัตราเร็ว v ให้คงที่ แม้จะมีหิมะเกาะสะสมอยู่บนรถไฟ แล้วพลังงานจลน์ของรถไฟและหิมะเพิ่มขึ้นในอัตราเท่าใด |
A | \(0\) |
B | \(\rm Mgv\) |
C | \(\rm \dfrac{1}{2}Mv^2\) |
D | \(\rm \dfrac{1}{2}\rho v^2\) |
E | \(\rm \rho v^2\) |
147. | รถไฟเดิมมีมวล M เคลื่อนที่ไปตามแนวราบโดยไม่มีแรงเสียดทาน และมีอัตราเร็วคงที่ เมื่อหิมะเริ่มตกลงมาเกาะรถไฟด้วยอัตรา ρ โดย ρ มีหน่วย kg/s ซึ่งรถไฟจะต้องรักษาระดับอัตราเร็ว v ให้คงที่ แม้จะมีหิมะเกาะสะสมอยู่บนรถไฟ กำลังต่ำสุดที่รถไฟต้องใช้รักษาระดับอัตราเร็ว v ให้คงที่ เท่ากับข้อใด |
A | \(0\) |
B | \(\rm Mgv\) |
C | \(\rm \dfrac{1}{2}Mv^2\) |
D | \(\rm \dfrac{1}{2}\rho v^2\) |
E | \(\rm \rho v^2\) |
148. | ขวด A, B และ C มีฐานเป็นวงกลมรัศมี 2 cm เหมือนกัน ถ้าเทน้ำที่มีปริมาณเท่ากัน ลงในขวดแต่ละใบ โดยไม่ให้มีน้ำล้นออกมา จงเรียงลำดับ แรง F ที่น้ำกระทำกับฐานของขวดจากมากไปหาน้อย ![]() |
149. | หูจับแกลลอนนม มี Plug อุดอยู่เนื่องจากข้อผิดพลาดในการผลิต หลังจากเปิดฝา แล้วเทนมบางส่วนออกมา นมที่อยู่ในแกลลอนจะอยู่ต่ำกว่านมที่อยู่ในหูจับ ตามรูป ข้อใดเป็นจริงเกี่ยวกับความดันเกจ P ของนมที่ฐานด้านล่างของแกลลอน เมื่อ ρ คือ ความหนาแน่นของนม ![]() |
150. | ทรงกลมตันขนาดเล็กมวล m รัศมีเล็กมาก เชื่อมกับคานบางยาว L มีมวล 2m และทรงกลมตันขนาดเล็กอันที่สองมวล M มีรัศมีเล็กมาก ถูกยิงในแนวตั้งฉากกับคานบางเหนือทรงกลมตันแรกเป็นระยะ h ดังรูป
![]() |
151. | ทรงกลมตันขนาดเล็กมวล m รัศมีเล็กมาก เชื่อมกับคานบางยาว L มีมวล 2m และทรงกลมตันขนาดเล็กอันที่สองมวล M มีรัศมีเล็กมาก ถูกยิงในแนวตั้งฉากกับคานบางเหนือทรงกลมตันแรกเป็นระยะ h ดังรูป
![]() |
152. | เชือกเบาคล้องผ่านรอกที่ไม่มีความฝืด วัตถุมวล M และ M + m ถูกแขวนที่ปลายเชือกแต่ละด้าน ถ้า m = 0 แล้วแรงตึงเชือก T เท่ากับ Mg แล้วกรณีที่เพิ่มค่า m ถึงอนันต์ แรงตึงเชือกจะเปลี่ยนไปอย่างไร |
A | คงที่ |
B | ลดลง และเข้าใกล้ค่าคงที่ ที่ไม่ใช่ศูนย์ |
C | ลดลง และเข้าใกล้ 0 |
D | เพิ่มขึ้น และเข้าใกล้ค่าคงที่ค่าหนึ่ง |
E | เพิ่มขึ้น และมีค่าเป็นอนันต์ |
153. | กำหนดให้ วัตถุจากจุดนิ่งกลิ้งลงบนพื้นลาดเอียงโดยไม่ไถล ถ้าวัตถุในแต่ละข้อมีมวล M รัศมี R เหมือนกัน แล้วข้อใดมีอัตราเร่งมากสุด ขณะกลิ้งลงมา |
154. | กำหนดให้ วัตถุจากจุดนิ่งกลิ้งลงบนพื้นลาดเอียงโดยไม่ไถล ถ้าวัตถุในแต่ละข้อเป็นทรงกลมสม่ำเสมอ ที่เดิมอยู่นิ่งและถูกปล่อยออกเหมือนกัน แล้วข้อใดจะมีอัตราเร็วมากที่สุด หลังจุดศูนย์กลางมวลเคลื่อนที่ตามแนวตั้งไปได้ระยะ h แล้ว |
A | ทรงกลมมวล M รัศมี R |
B | ทรงกลมมวล 2M รัศมี \(\frac{1}{2}\) R |
C | ทรงกลมมวล M/2 รัศมี 2R |
D | ทรงกลมมวล 3M รัศมี 3R |
E | ทุกข้อมีอัตราเร็วเท่ากัน |
155. | ไม้ท่อนหนึ่งถูกวางพาดกับผนังเอียง ดังรูป ถ้าส่วนปลายของไม้ที่สัมผัสพื้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v แล้วอัตราเร็วส่วนปลายที่สัมผัสกับผนังจะมีค่าเท่ากับข้อใด
![]() |
A | \(\rm v\dfrac{{\sin \theta }}{{\cos (\alpha - \theta )}}\) |
B | \(\rm v\dfrac{{\sin (\alpha - \theta )}}{{\cos (\alpha + \theta )}}\) |
C | \(\rm v\dfrac{{\cos (\alpha - \theta )}}{{\sin (\alpha + \theta )}}\) |
D | \(\rm v\dfrac{{\cos \theta }}{{\cos (\alpha - \theta )}}\) |
E | \(\rm v\dfrac{{\sin \theta }}{{\cos (\alpha + \theta )}}\) |
156. | วัตถุถูกขว้างลงมาในแนวดิ่งจากอาคารสูง 180 เมตร ถ้าผ่านไป 1.0 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ได้ 60 เมตร แล้วอัตราเร็วต้นของวัตถุที่ขว้างลงมาเท่ากับข้อใด |
157. | แผ่นกลมถูกดึงด้วยแรง F ผ่านเชือกที่ยึดกับจุดศูนย์กลางมวล ดังรูป สมมุติว่า แผ่นกลมกลิ้งโดยไม่มีการไถล ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ พื้นที่ใดที่มีความเร่งเป็นศูนย์ (ถ้ามี)
![]() |
158. | ลูกฮอกกี้ถูกตีขึ้นทางลาดที่ทำมุม 30◦ กับแนวนอน ได้กราฟอัตราเร็วของลูกฮอกกี้กับเวลา ดังรูป แล้วค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานระหว่างลูกฮอกกี้กับทางลาดเท่ากับข้อใด
![]() |
159. | วัตถุมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v0 ชนกับวัตถุมวล M ซึ่งเดิมอยู่นิ่ง จะได้สัดส่วนการถ่ายโอนโมเมนตัม f คือ ค่าสัมบูรณ์ของโมเมนตัมสุดท้ายของ M หารด้วยโมเมนตัมเริ่มต้นของ m ถ้าการชนนั้นไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ แล้วเงื่อนไขในข้อใด ที่ทำให้สัดส่วนการถ่ายโอนโมเมนตัมของสองวัตถุ มีค่ามากสุด |
160. | วัตถุมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v0 ชนกับวัตถุมวล M ซึ่งเดิมอยู่นิ่ง จะได้สัดส่วนการถ่ายโอนโมเมนตัม f คือ ค่าสัมบูรณ์ของโมเมนตัมสุดท้ายของ M หารด้วยโมเมนตัมเริ่มต้นของ m ถ้าการชนนั้นยืดหยุ่นสมบูรณ์ แล้วสัดส่วนการถ่ายโอนโมเมนตัมที่มีค่ามากสุด ที่เป็นไปได้ fmax มีค่าเท่าใด |
A | \(\rm 0 < f_{max} < \dfrac{1}{2}\) |
B | \(\rm f_{max} = \dfrac{1}{2}\) |
C | \(\rm \dfrac{1}{2} < f_{max} < \dfrac{3}{2}\) |
D | \(\rm f_{max} = 2\) |
E | \(\rm f_{max}\ge 3\) |
161. | วัตถุมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v0 ชนกับวัตถุมวล M ซึ่งเดิมอยู่นิ่ง จะได้สัดส่วนการถ่ายโอนโมเมนตัม f คือ ค่าสัมบูรณ์ของโมเมนตัมสุดท้ายของ M หารด้วยโมเมนตัมเริ่มต้นของ m สัดส่วนการถ่ายโอนพลังงาน คือ ค่าสัมบูรณ์ของพลังงานจลน์สุดท้ายของ M หารด้วยพลังงานจลน์เริ่มต้นของ m ถ้าการชนนั้นยืดหยุ่นสมบูรณ์ แล้วเงื่อนไขในข้อใด ที่ทำให้สัดส่วนการถ่ายโอนพลังงานของสองวัตถุ มีค่ามากสุด |
162. | สปริงขณะยังไม่ถูกดึงยาว 1.0 เมตร เมื่อยืดสปริงให้ยาว 10 เมตร การสั่นของคลื่นจากปลายหนึ่งไปสู่อีกปลายใช้เวลา 1.0 วินาที ถ้ายืดสปริงให้ยาว 20 เมตร แล้วเวลาที่ใช้ในการสั่นของคลื่นจากปลายหนึ่งไปสู่อีกปลาย จะมีค่าใกล้เคียงกับข้อใด |
163. | บอลมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v ชนกับสปริงเบาที่มีค่านิจสปริง k โดยสปริงติดอยู่กับกล่องนิ่งมวล M ในอวกาศ ถ้าการชนไม่มีการสูญเสียพลังงานเชิงกล และระบบไม่เกิดการหมุน แล้วระยะหดมากสุดของสปริง x มีค่าเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm x = v\sqrt {\dfrac{{mM}}{{(m + M)k}}}\) |
B | \(x = v\sqrt {\dfrac{m}{k}}\) |
C | \(\rm x = v\sqrt {\dfrac{M}{k}}\) |
D | \(x = v\sqrt {\dfrac{{m + M}}{k}}\) |
E | \(\rm x = v\sqrt {\dfrac{{{{(m + M)}^3}}}{{mMk}}}\) |
164. | ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งโคจรรอบดาวฤกษ์ S ดังรูป ให้ระยะครึ่งแกนเอกถึงวงโคจร เท่ากับ a และ ระยะที่สั้นที่สุดระหว่างดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์ มีค่าเท่า 0.5a ถ้าดาวเคราะห์เคลื่อนผ่านไป จุด P (จุดบนเส้นตรงที่ผ่านดาวฤกษ์ S และตั้งฉากกับแกนเอก) ด้วยอัตราเร็ว v1 แล้วอัตราเร็ว v2 ขณะผ่านจุด perigee มีค่าเท่ากับข้อใด
![]() |
A | \(\rm {v_2} = \dfrac{3}{{\sqrt 5 }}{v_1}\) |
B | \(\rm {v_2} = \dfrac{3}{{\sqrt 7 }}{v_1}\) |
C | \(\rm{v_2} = \dfrac{2}{{\sqrt 3 }}{v_1}\) |
D | \(\rm {v_2} = \dfrac{{\sqrt 7 }}{{\sqrt 3 }}{v_1}\) |
E | \(\rm {v_2} = 4{v_1}\) |
165. | รถขับทวนเข็มนาฬิกาบนถนนโค้งเรียบ ด้วยอัตราเร็วคงที่ ถ้าล้อหน้าซ้ายเคลื่อนที่เป็นวงกลมรัศมี R = 9.60 เมตร และรถกว้าง 1.74 m แล้วอัตราส่วนความเร็วเชิงมุมของการหมุนของเพลาล้อหน้าซ้าย ต่อเพลาล้อหน้าขวาของรถ ขณะเข้าโค้งเท่ากับข้อใด สมมติว่าล้อหมุนโดยไม่ไถล |
A | 0.331 |
B | 0.630 |
C | 0.708 |
D | 0.815 |
E | 0.847 |
166. | ชั้นน้ำมันหนา 3.0 cm มีความหนาแน่น ρo = 800 kg / m3 ลอยเหนือน้ำที่มีความหนาแน่น ρw = 1000 kg / m3 กำหนดให้เดิม 1/3 ของทรงกระบอกตันลอยอยู่ในน้ำ อีก 1/3 ลอยอยู่ในน้ำมัน และอีก 1/3 อยู่ในอากาศ ถ้าเติมน้ำมันเพิ่มจนกว่าทรงกระบอกจะลอยในชั้นน้ำมันเท่านั้น แล้วสัดส่วนของทรงกระบอกที่ลอยอยู่ในชั้นน้ำมันเท่ากับข้อใด
![]() |
A | 3/5 |
B | 3/4 |
C | 2/3 |
D | 8/9 |
E | 4/5 |
167. | นักเรียนวิชาฟิสิกส์เบื้องต้น ฉลองเกรดเทอมแรกของเขาด้วยการทิ้งหนังสือลงมาจากระเบียงลงยังไปกองหิมะด้านล่างสูง 3.00 m ถ้าหนังสือเล่มนี้จมลงไปในหิมะประมาณ 1.00 m และหนังสือมีมวล 5 kg แล้วแรงเฉลี่ยที่หิมะกระทำกับหนังสือเท่ากับข้อใด |
A | 85 N |
B | 100 N |
C | 120 N |
D | 150 N |
E | 200 N |
168. | ปล่อยลูกปัดให้ไถลไปตามลวดที่ขดเหมือนสปริงในแนวตั้ง ข้อใดคือกราฟขนาดความเร่งลัพธ์ a ต่อเวลา t ของเหตุการณ์ดังกล่าว |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
169. | พิจารณาวัตถุในกล่องที่มีแรงโน้มถ่วงในทิศลง ดังรูป
![]() แล้วภาพในข้อใด แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุภายในกล่องได้ถูกต้อง |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
170. | พิจารณาวัตถุในกล่องที่มีแรงโน้มถ่วงในทิศลง ดังรูป
![]() หากเลือกขนาดความเร่งของกล่องได้ถูกต้อง วัตถุสามารถเคลื่อนที่กลับมายังจุดเริ่มได้อีกครั้ง ภาพในข้อใด แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุภายในกล่องได้ถูกต้อง |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
171. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) มวลติดกับสปริงที่ยังไม่ถูกยืดออกและตรึงปลายด้านหนึ่งไว้ ถูกวางบนโต๊ะลื่น ถ้าขยับมวลออกมาด้วยระยะ A ขนานกับโต๊ะ แต่ตั้งฉากกับสปริงจนเกิดการสั่น แล้วคาบของการสั่น T จะเปลี่ยนไปอย่างไร |
A | คาบของการสั่นไม่ได้ขึ้นกับระยะ A |
B | เพิ่มขึ้น เมื่อ A เพิ่มขึ้น และเข้าใกล้ค่าคงที่ค่าหนึ่ง |
C | ลดลง เมื่อ A เพิ่มขึ้น และเข้าใกล้ค่าคงที่ค่าหนึ่ง |
D | หาค่าประมาณเป็นค่าคงที่ได้ เมื่อ A มีค่าเล็กๆ จากนั้นจะเพิ่มขึ้นโดยไม่มีขอบเขต |
E | หาค่าประมาณเป็นค่าคงที่ได้ เมื่อ A มีค่าเล็กๆ จากนั้นจะลดลงโดยไม่มีขอบเขต |
172. | จากกฎของเคปเลอร์ ( Kepler's Laws ) ระบุว่า I. วงโคจรของดาวเคราะห์จะเป็นวงรี โดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดโฟกัส II. เส้นตรงที่เชื่อมระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์จะกวาดพื้นที่ได้เท่ากัน ในระยะเวลาที่เท่ากัน III. กำลังสองของคาบการโคจรของดาวเคราะห์ เป็นสัดส่วนโดยตรงกับกำลังสามของกึ่งแกนเอก (semimajor axis) ของวงโคจร กฎข้อใดจะเป็นจริง ถ้าแรงโน้มถ่วงมีสัดส่วนเป็น 1/r3 แทนที่จะเป็น 1/r2 |
A | เฉพาะข้อ I. |
B | เฉพาะข้อ II. |
C | เฉพาะข้อ III. |
D | ข้อ I. และ II. |
E | ไม่มีข้อใดเป็นจริง |
173. | ลูกปัดขนาดเล็กวางอยู่บนลูกแก้วกลมลื่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง D ดังรูป ถ้าสะกิดให้ลูกปัดลื่นไปตามลูกแก้ว แล้วอัตราเร็ว v ของลูกปัด ขณะไหลตกจากลูกแก้วเท่ากับข้อใด
![]() |
A | \(\rm v = \sqrt {gD}\) |
B | \(\rm v = \sqrt {4gD/5}\) |
C | \(\rm v = \sqrt {2gD/3}\) |
D | \(\rm v = \sqrt {gD/2}\) |
E | \(\rm v = \sqrt {gD/3}\) |
174. | กล่องสองใบ ถูกผูกติดกันด้วยเชือกเบาสองเส้น และนำไปแขวนไว้บนเพนดาน ดังรูป มวลของกล่องบนและล่างหนัก m1 = 2 kg และ m2 = 4 kg ตามลำดับ ถ้าตัดเชือกที่แขวนกับเพดานแล้วความเร่งของกล่องทั้งสองใบ ขณะกล่องใบบนสุดเริ่มร่วงลงจะเท่ากับข้อใด
![]() |
A | กล่องบน: 10 m/s2, กล่องล่าง: 0 |
B | กล่องบน: 10 m/s2, กล่องล่าง: 10m/s2 |
C | กล่องบน: 20 m/s2, กล่องล่าง: 10 m/s2 |
D | กล่องบน: 30 m/s2, กล่องล่าง: 0 |
E | กล่องบน: 30 m/s2, กล่องล่าง: 10 m/s2 |
175. | พลังงานที่ออกมาจากรถทดลองรุ่นทรงลูกบาศก์ จะแปรผันตามมวล m ของรถ และแรงต้านอากาศต่อรถจะแปรผันตาม Av2 โดย v คือ อัตราเร็วของรถ และ A คือ พื้นที่ตัดขวาง เมื่ออยู่บนถนนเรียบรถจะมีอัตราเร็วสูงสุดเป็น vmax สมมุติว่า รถรุ่นนี้มีความหนาแน่นเท่ากันทุกคัน แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง |
A | \(\rm {v_{\max }} \propto {{\rm{m}}^{1/9}}\) |
B | \(\rm {v_{\max }} \propto {{\rm{m}}^{1/7}}\) |
C | \(\rm {v_{\max }} \propto {{\rm{m}}^{1/3}}\) |
D | \(\rm {v_{\max }} \propto {{\rm{m}}^{2/3}}\) |
E | \(\rm {v_{\max }} \propto {{\rm{m}}^{3/4}}\) |
176. | ให้ภาชนะที่บรรจุของเหลว มีบล็อกก้อนหนึ่งลอยแบบจมบางส่วนอยู่ ถ้าเราเพิ่มความเร่งให้ทั้งภาชนะ แล้วผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร สมมุติว่า ทั้งบล็อกและของเหลวไม่สามารถบีบอัดได้ |
A | บล็อกจะจมลงไปในของเหลว |
B | บล็อกในของเหลวจะลอยสูงขึ้น |
C | บล็อกจะไม่ลอยหรือจมไปจากเดิม |
D | คำตอบขึ้นอยู่กับทิศทางการเคลื่อนที่ของภาชนะ |
E | คำตอบขึ้นอยู่กับอัตราการเปลี่ยนแปลงของความเร่ง |
177. | วัตถุมวล m1 เริ่มเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v0 แล้วชนกับวัตถุที่เดิมหยุดนิ่ง มวล m2 = αm1 โดยที่ α < 1 การชนกันอาจจะยืดหยุ่นสมบูรณ์ ไม่สมบูรณ์ หรือยืดหยุ่นบางส่วนก็ได้ หลังการชน วัตถุทั้งสองจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v1 และ v2 สมมุติว่า เป็นการชนกันหนึ่งมิติ และวัตถุแรกไม่สามารถทะลุผ่านวัตถุสองได้ แล้วอัตราส่วนอัตราเร็วของวัตถุที่สองหลังการชน r2 = v2 / v0 จะอยู่ในช่วงใด |
A | (1 – α) / (1 + α) ≤ r2 ≤ 1 |
B | (1 – α) / (1 + α) ≤ r2 ≤ 1 / (1 + α) |
C | α / (1 + α) ≤ r2 ≤ 1 |
D | 0 ≤ r2 ≤ 2 α / (1 + α) |
E | 1 / (1 + α) ≤ r2 ≤ 2 / (1 + α) |
178. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) กำหนดคานยาว l วางบนระนาบพื้นลื่น ปลายด้านหนึ่งถูกยึดให้หมุนรอบแกนได้ และปลายอีกด้านติดสปริงยาว L >> l ขณะยังไม่ยืดออก สปริงถูกวางอยู่บนพื้นและตั้งฉากกับคาน และสปริงฝั่งที่ติดกับคานสามารถขยับได้ และปลายอีกข้างเป็นจุดตรึง เมื่อขยับคานหมุนรอบแกนเล็กน้อย สปริงจะสั่นด้วยความถี่ f ![]() ![]() |
A | \(\rm f/2\) |
B | \(\rm f/\sqrt{2}\) |
C | \(\rm f\) |
D | \(\rm \sqrt{2}f\) |
E | \(\rm 2f\) |
179. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) กำหนดคานยาว l วางบนระนาบพื้นลื่น ปลายด้านหนึ่งถูกยึดให้หมุนรอบแกนได้ และปลายอีกด้านติดสปริงยาว L >> l ขณะยังไม่ยืดออก สปริงถูกวางอยู่บนพื้นและตั้งฉากกับคาน และสปริงฝั่งที่ติดกับคานสามารถขยับได้ และปลายอีกข้างเป็นจุดตรึง เมื่อขยับคานหมุนรอบแกนเล็กน้อย สปริงจะสั่นด้วยความถี่ f ![]() ![]() |
A | \(\rm f/3\) |
B | \(\rm f/\sqrt3\) |
C | \(\rm f\) |
D | \(\rm \sqrt3 f\) |
E | \(\rm 3f\) |
180. | ลูกบอลกลิ้งลงมาจากรถบรรทุกที่วิ่งไปทิศขวาด้วยอัตราเร็ว 10.0 m/s ส่วนลูกบอลกลิ้งตามแนวราบด้วยอัตราเร็ว 8.0 m/s ในทิศซ้ายมือของผู้สังเกตบนรถบรรทุก ถ้าลูกบอลตกลงบนพื้นถนนจากความสูง 1.25 m แล้วจุดที่ลูกบอลตกกระทบพื้นขณะนั้น จะห่างจากด้านหลังของรถบรรทุกเท่าใด |
A | 0.50 m |
B | 1.0 m |
C | 4.0 m |
D | 5.0 m |
E | 9.0 m |
181. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) จากรูป ลูกปิงปองมวล m กลิ้งอยู่บนพื้นด้วยความเร็วต้นในแนวนอน v และความเร็วเชิงมุม ω เนื่องจากพื้นมีแรงเสียดทาน ทำให้ความเร็วและความเร็วเชิงมุมของลูกปิงปองเปลี่ยนแปลงไป จงหาความเร็ววิกฤติ vc ที่ทำให้ลูกปิงปองหยุดนิ่ง อย่าลืมว่าลูกปิงปองเป็นทรงกลมกลวง
![]() |
A | \(\rm v = \dfrac{2}{3}R\omega \) |
B | \(\rm v = \dfrac{2}{5}R\omega \) |
C | \(\rm v = R\omega \) |
D | \(\rm v = \dfrac{3}{5}R\omega \) |
E | \(\rm v = \dfrac{5}{3}R\omega \) |
182. | วัตถุที่เดิมหยุดนิ่ง ถูกหมุนและเร่งความเร็วจนมีความเร็วเชิงมุม \(\rm ω = π /15~ rad / s\) และความเร่งเชิงมุม \(\rm α = π / 75~ rad / s^2\) ถ้าวัตถุยังคงหมุนต่อด้วยความเร็วเชิงมุมคงที่ และหยุดด้วยความเร่งเชิงมุมที่มีขนาดเท่ากับความเร่งก่อนหน้านี้ แล้วระยะเวลาที่วัตถุจะหมุนวนครบ 3 รอบเท่ากับข้อใด |
A | 75 s |
B | 80 s |
C | 85 s |
D | 90 s |
E | 95 s |
183. | ลวดรูปครึ่งวงกลมมีรัศมี R ถูกจับตั้ง ดังรูป ถ้าปล่อยลูกปัดให้ลื่นลงมาจากด้านบนของลวด โดยไม่มีแรงเสียดทานตามแรงโน้มถ่วง แล้วพุ่งออกจากปลายลวดลงไปยังพื้นดินที่ระดับความสูง H อยู่ไกลจากปลายลวดในแนวนอน D
![]() |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
184. | ปริซึมมุมฉาก มีหน้าตัดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก สูง h ด้านตรงข้ามมุมฉากยาว w = 2h วางอยู่บนพื้นเอียงที่ทำมุมกับแนวนอน θ ข้อใดคือสัมประสิทธิ์ต่ำสุดของแรงเสียดทานสถิตที่ทำให้ปริซึมหมุนกลิ้งลงมา (โดยมีจุดยอดหนึ่งเป็นจุดหมุน) และไม่ไถล
![]() |
A | 0.71 |
B | 1.41 |
C | 1.50 |
D | 1.73 |
E | 3.00 |
185. | คานเบายาว L ที่วางตัวในแนวดิ่งและปลายบนติดกับมวล m ปลายล่างสัมผัสกับพื้นและติดกับมวล 3m กำหนดให้ไม่มีแรงเสียดทาน และสมมุติว่าทุกอย่างเคลื่อนที่ในระนาบเดียว ถ้า x เป็นระยะกระจัดในแนวนอนของมวล m เมื่อกระทบพื้น แล้วค่า x มีค่าเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm x=\dfrac{3}{4}L\) |
B | \(\rm x=\dfrac{3}{5}L\) |
C | \(\rm x=\dfrac{1}{4}L\) |
D | \(\rm x=\dfrac{1}{3}L\) |
E | \(\rm x=\dfrac{2}{5}L\) |
186. | คานเบายาว L ที่วางตัวในแนวดิ่งและปลายบนติดกับมวล m ปลายล่างสัมผัสกับพื้นและติดกับมวล 3m กำหนดให้ไม่มีแรงเสียดทาน และสมมุติว่าทุกอย่างเคลื่อนที่ในระนาบเดียว ถ้า v เป็นอัตราเร็วของมวล m เมื่อกระทบพื้น แล้วค่า v มีค่าเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm v = \sqrt {2gL}\) |
B | \(\rm v = \sqrt {gL}\) |
C | \(\rm v = \sqrt {2gL/3}\) |
D | \(\rm v = \sqrt {3gL/2}\) |
E | \(\rm v = \sqrt {gL/4}\) |
187. | หนังยางสม่ำเสมอมวล M และมีค่านิจสปริง k มีรัศมีเดิม R ถ้าขว้างหนังยางออกไปในอากาศ โดยสมมุติว่า หนังยางยังคงเป็นวงกลม และหมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ω รอบจุดศูนย์กลางวงแล้วข้อใด คือ รัศมีใหม่ของหนังยาง |
A | \(\rm ( 2πkR ) / ( 2πk - Mω^2 )\) |
B | \(\rm( 4πkR ) / ( 4πk - Mω^2 )\) |
C | \(\rm ( 8π^2 kR ) / ( 8π^2 k - Mω^2 )\) |
D | \(\rm ( 4π^2 kR ) / ( 4π2 k - Mω^2 )\) |
E | \(\rm ( 4πkR ) / ( 2πk - Mω^2 )\) |
188. | โมเมนต์ความเฉื่อยของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสม่ำเสมอมวล m แต่ละด้านยาว a แกนที่ผ่านด้านใดด้านหนึ่งและขนานกับด้านนั้นเท่ากับ (1/8)ma2 แล้วโมเมนต์ความเฉื่อยของรูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามวล m แต่ละด้านยาว a แกนที่ผ่านสองจุดที่อยู่ฝั่งตรงข้าม เท่ากับข้อใด |
A | (1/8)ma2 |
B | (5/24)ma2 |
C | (17/72)ma2 |
D | (19/72)ma2 |
E | (9/32)ma2 |
189. | นักเรียนสามคน วัดความยาวคานยาว 1.50 เมตร แต่ละคนรายงานความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่า เพื่อให้ทราบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการวัด ดังนี้
ก : วัดครั้งเดียว โดยใช้ตลับเมตรความยาว 2.0 เมตร มีความคลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร
ข : วัดสองครั้ง โดยใช้ไม้เมตร แต่ละครั้งมีความคลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ซึ่งเขารวมความคลาดเคลื่อนเข้าด้วยกัน
ค : วัดสองครั้ง โดยใช้ไม้บรรทัดสเกลละเอียดสำหรับงานช่าง แต่ละครั้งมีความคลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ซึ่งเขารวมความคลาดเคลื่อนเข้าด้วยกัน
จากข้อมูล ครูต้องเลือกข้อมูลที่มีความผิดพลาดน้อยที่สุด ข้อใดจัดลำดับความน่าเชื่อถือได้ถูกต้อง |
190. | แม่น้ำกว้าง 600 เมตร ไหลไปทางทิศใต้ด้วยอัตราเร็ว 4.0 m/s เรือยนต์เล็กมีอัตราเร็ว 5.0 m/s ในน้ำนิ่งขับข้ามฝั่งไปโดยหันหัวเรือไปในทิศทาง ดังรูป
![]() |
A | 67 s |
B | 120 s |
C | 150 s |
D | 200 s |
E | 600 s |
191. | ขับรถไปทางทิศเหนืออัตราเร็วคงที่ 80 km/hr เป็นระยะทาง 25 km จากนั้นขับต่อไปด้วยอัตราเร็วคงที่ 75 km/hr อีก 75 km อัตราเร็วเฉลี่ยในการเดินทางครั้งนี้เท่ากับข้อใด |
A | 55.2 km/hr |
B | 57.5 km/hr |
C | 65 km/hr |
D | 69.6 km/hr |
E | 72.5 km/hr |
192. | แรงต้านการเคลื่อนที่ของเครื่องบินที่ระดับความสูงหนึ่ง หาจาก Ff = kv2 , โดย k คือค่าคงที่ v คือ อัตราเร็วของเครื่องบิน ให้กำลังที่ออกมาจากเครื่องยนต์ คือ P0 เครื่องบินจะบินด้วยอัตราเร็ว v0 ถ้ากำลังที่ออกมาจากเครื่องยนต์เพิ่มขึ้น 100% เป็น 2P0 แล้วเครื่องบินจะบินได้ด้วยอัตราเร็วเท่าใด |
A | 1.12 v0 |
B | 1.26 v0 |
C | 1.41 v0 |
D | 2.82 v0 |
E | 8 v0 |
193. | กล่องหนัก 2.0 kg อยู่นิ่งบนพื้นราบ มีค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตระหว่างกล่องและพื้น μ และค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ระหว่างกล่องและพื้นผิว μk = 0.90 μs ถ้ามีแรงภายนอกมากระทำกับกล่องในแนวนอนขนาด P แล้วข้อใดเป็นกราฟความเร่งของกล่องเทียบกับแรงภายนอก P |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
194. | ยิงกระสุน 470 กรัม ทำมุมเงย 60 องศา ด้วยอัตราเร็วต้น 100 m/s ตรงไปยังเป้าหมายบนกำแพงที่อยู่ห่างออกไป 150 เมตร ดังรูป
![]() |
A | 1.3 m |
B | 2.2 m |
C | 5.0 m |
D | 7.1 m |
E | 11 m |
195. | รถของเล่นสามคัน เคลื่อนที่หนึ่งมิติอย่างอิสระตามแนวนอนโดยไม่มีแรงเสียดทาน รถ A มีมวล 1.9 kg ไปทางขวาด้วยอัตราเร็วต้น 1.7 m/s รถ B มีมวล 1.1 kg ไปทางซ้ายด้วยอัตราเร็วต้น 2.5 m/s รถ C มีมวล 1.3 kg จอดอยู่นิ่งๆ ถ้าการชนระหว่างรถ A และ B ยืดหยุ่นสมบูรณ์ ส่วนการชนระหว่างรถ B และ C ไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์
![]() |
A | 0.11 m/s |
B | 0.16 m/s |
C | 1.4 m/s |
D | 2.0 m/s |
E | 3.23 m/s |
196. | ![]() รถ C จอดที่ระยะ 2.0 เมตร ณ จุดที่กำหนดตำแหน่งไว้ ส่วนรถ A อยู่ที่จุดเริ่มต้นที่ระยะศูนย์เมตร ได้เคลื่อนที่ไปทางรถ B ที่อัตราเร็ว v0 สมมุติว่าการชนกันทั้งหมดไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ แล้วอัตราเร็วสุดท้ายของรถ C เท่ากับข้อใด |
A | v0/13 |
B | v0/10 |
C | v0/9 |
D | v0/3 |
E | 2v0/5 |
197. | ![]() รถ C จอดที่ระยะ 2.0 เมตร ณ จุดที่กำหนดตำแหน่งไว้ ส่วนรถ A อยู่ที่จุดเริ่มต้นที่ระยะศูนย์เมตร ได้เคลื่อนที่ไปทางรถ B ที่อัตราเร็ว v0 สมมุติว่าการชนกันทั้งหมดยืดหยุ่นสมบูรณ์ แล้วอัตราเร็วสุดท้ายของรถ C เท่ากับข้อใด |
A | v0/8 |
B | v0/4 |
C | v0/2 |
D | v0 |
E | 2v0 |
198. | ลูกบอล 0.650 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 5.00 m/s ชนกันลูกบอล 0.750 kg ที่เดิมอยู่นิ่ง หลังการชนลูกบอล 0.750 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 4.00 m/s และลูกบอล 0.650 kg กระเด็นทำมุมฉากกับทิศที่ลูกบอล 0.750 kg เคลื่อนที่ออกไป ถ้าอัตราเร็วสุดท้ายของลูกบอล 0.650 kg เท่ากับข้อใด |
A | 1.92 m/s |
B | 2.32 m/s |
C | 3.0 m/s |
D | 4.64 m/s |
E | 5.77 m/s |
199. | ลูกบอล 0.650 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 5.00 m/s ชนกันลูกบอล 0.750 kg ที่เดิมอยู่นิ่ง หลังการชนลูกบอล 0.750 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 4.00 m/s และลูกบอล 0.650 kg กระเด็นทำมุมฉากกับทิศที่ลูกบอล 0.750 kg เคลื่อนที่ออกไป ให้การเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์สุทธิจากการชนครั้งนี้ หาจาก ΔK = Kf - Ki โดย Kf คือ พลังงานจลน์สุดท้ายสุทธิ และ Ki คือ พลังงานจลน์เริ่มต้นสุทธิ แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง |
A | \(\rm ΔK = (K_f + K_i)/2\) |
B | \(\rm K_f < ΔK < K_i\) |
C | \(\rm 0 < ΔK < K_f\) |
D | \(\rm ΔK = 0\) |
E | \(\rm – K_i < ΔK < 0\) |
200. | ทรงกลมลอยอยู่ในน้ำ โดย 2/3 ของปริมาตรทรงกลมจมอยู่ในน้ำ ถ้าหยิบทรงกลมไปวางในน้ำมันที่มีความหนาแน่น 3/4 ของน้ำ แล้วสัดส่วนของทรงกลมที่จมอยู่ในน้ำมันเท่ากับข้อใด |
A | 1/12 |
B | 1/2 |
C | 8/9 |
D | 17/12 |
E | ทรงกลมจะไม่ลอย แต่จะจมในน้ำมัน |
201. | ให้ลูกตุ้มประกอบไปด้วย ตุ้มขนาดเล็กมวล m ผูกติดกับเชือกยาว L ให้ลูกตุ้มที่เดิมอยู่นิ่งแกว่งลงมาจากจุดที่ทำมุม θmax < 90 องศา แล้วข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความเร่งของลูกตุ้ม |
A | ขนาดของความเร่งจะคงที่ สำหรับการแกว่งนี้ |
B | ขนาดของความเร่งที่จุดต่ำสุดมีค่าเท่ากับ g ความเร่งเป็นไปตามการตกอย่างอิสระ |
C | ขนาดของความเร่งเป็นศูนย์ ณ บางจุดของการแกว่งนี้ |
D | ความเร่งจะชี้ไปที่จุดศูนย์กลางของวงกลมเสมอ |
E | ความเร่งที่จุดต่ำสุดของการแกว่งจะชี้ขึ้นในแนวตั้ง |
202. | ให้ลูกตุ้มประกอบไปด้วย ตุ้มขนาดเล็กมวล m ผูกติดกับเชือกยาว L ให้ลูกตุ้มที่เดิมอยู่นิ่งแกว่งลงมาจากจุดที่ทำมุม θmax < 90 องศา พิจารณา ขณะลูกตุ้มทำมุม \(\rm θ = \dfrac{1}{2} θ_{max}\) ขณะแกว่งขึ้น ( ขึ้นไปทาง θmax ) ภาพใดแสดงเวกเตอร์ทิศของความเร่งของลูกตุ้มได้ถูกต้อง |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
203. | ให้คานเบายาว 3.0 เมตร สามารถหมุนตามแนวนอนได้อย่างอิสระรอบจุดศูนย์กลาง ที่ปลายคานมีวัตถุสองชิ้นมวล 5.0 กิโลกรัม วางอยู่ วัตถุสามารถเลื่อนได้อย่างอิสระบนคาน โดยไม่มีแรงเสียดทาน และมีเชือกเบาผูกวัตถุทั้งสองชิ้นไว้ไม่ให้หล่นออกจากคาน ให้เดิมระบบหมุน 4.0 เรเดียนต่อวินาที ถือว่าระบบไม่มีแรงเสียดทาน และไม่สนใจความไม่เสถียรของระบบ แล้วแรงตึงเชือกเดิมเท่ากับข้อใด |
A | 60 N |
B | 106 N |
C | 120 N |
D | 240 N |
E | 480 N |
204. | ให้คานเบายาว 3.0 เมตร สามารถหมุนตามแนวนอนได้อย่างอิสระรอบจุดศูนย์กลาง ที่ปลายคานมีวัตถุสองชิ้นมวล 5.0 กิโลกรัม วางอยู่ วัตถุสามารถเลื่อนได้อย่างอิสระบนคาน โดยไม่มีแรงเสียดทาน และมีเชือกเบาผูกวัตถุทั้งสองชิ้นไว้ไม่ให้หล่นออกจากคาน ให้เดิมระบบหมุน 4.0 เรเดียนต่อวินาที ถือว่าระบบไม่มีแรงเสียดทาน และไม่สนใจความไม่เสถียรของระบบ ถ้าเชือกค่อยๆ ตึงขึ้น ด้วยมอเตอร์เบาอันเล็กๆ ติดที่อยู่บนวัตถุชิ้นหนึ่ง โดยมอเตอร์จะช่วยดึงทั้งสองวัตถุให้เข้ามาใกล้จุดศูนย์กลางของแกนหมุน แล้วงานที่มอเตอร์ใช้ดึงทั้งสองวัตถุจากปลายคานมาอยู่ที่ระยะ 0.5 เมตร จากจุดศูนย์กลางของแกนหมุนเท่ากับข้อใด |
A | 120 J |
B | 180 J |
C | 240 J |
D | 1440 J |
E | 1620 J |
205. | พิจารณากราฟพลังงานศักย์กับตำแหน่งของวัตถุ 0.50 kg
![]() |
A | วัตถุสมดุลที่ x = 1 cm หรือ x = 3 cm |
B | พลังงานต่ำสุดสุทธิที่เป็นไปได้สำหรับวัตถุนี้เท่ากับ -10 J |
C | แรงที่กระทำบนวัตถุที่ x = 4 cm มีค่าประมาณ 1000 N |
D | ถ้าพลังงานสุทธิของวัตถุเท่ากับ 0 J แล้ววัตถุจะมีพลังงานจลน์ 10 J |
E | ความเร่งของวัตถุที่ x = 2 cm มีค่าประมาณ 4 cm/s2 |
206. | เราสามารถใช้ล้อหมุนเพื่อเก็บพลังงานจลน์ได้ ถ้าล้อมีลักษณะเป็นแผ่นกลม มีความหนาแน่น ρ ความทนต่อแรงดึง σ (ใช้หน่วยปาสคาล) รัศมี r และความหนา h และล้อสามารถหมุนที่ความเร็วเชิงมุมสูงสุดได้โดยไม่แตกหัก แล้วข้อใดคือพลังงานจลน์สูงสุดต่อกิโลกรัมที่ล้อสามารถเก็บพลังงานไว้ได้ สมมุติว่า α เป็นค่าคงที่ (ระดับเตรียมสอบ สอวน. ให้ใช้การวิเคราะห์มิติ) |
A | \(\rm \alpha \sqrt {\rho \sigma /r}\) |
B | \(\rm \alpha h\sqrt {\rho \sigma /r}\) |
C | \(\rm \alpha \sqrt {(h/r)} {(\sigma /\rho )^2}\) |
D | \(\rm \alpha (h/r)(\sigma /\rho )\) |
E | \(\rm \alpha \sigma /r\) |
207. | พิจารณาสามกราฟ ที่มาจากข้อมูลเดียวกัน
![]() ![]() ![]() |
A | y = ax + b |
B | y = ax2 + b |
C | y = axb |
D | y = aebx |
E | y = a log x + b |
208. | มาโนมิเตอร์รูปตัวยู (U-tube manometer) คือ ท่อทรงกระบอกที่โค้งงอเป็นรูปตัว U มีเส้นผ่านศูนย์กลางสม่ำเสมอตลอดเส้น ภายในท่อจะมีน้ำที่มีความหนาแน่น ρw ระดับความสูงของน้ำในท่อทั้งสองฝั่งจะเท่ากับ L ในที่นี้เราจะไม่สนใจความตึงผิวและความหนืดของของเหลว ถ้าน้ำในท่อฝั่งหนึ่งขยับตัวสูงขึ้นมา x แล้วน้ำในท่ออีกฝั่งจะลดลงมา x ด้วยเช่นกัน แล้วความถี่การขึ้นลงของน้ำในท่อเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm \dfrac{1}{{2\pi }}\sqrt {2g/L}\) |
B | \(\rm 2\pi \sqrt {g/L}\) |
C | \(\rm \dfrac{1}{{2\pi }}\sqrt {2L/g}\) |
D | \(\rm \dfrac{1}{{2\pi }}\sqrt {g/{\rho _w}}\) |
E | \(\rm 2\pi \sqrt {{\rho _w}gL}\) |
209. | มาโนมิเตอร์รูปตัวยู (U-tube manometer) คือ ท่อทรงกระบอกที่โค้งงอเป็นรูปตัว U มีเส้นผ่านศูนย์กลางสม่ำเสมอตลอดเส้น ภายในท่อจะมีน้ำที่มีความหนาแน่น ρw ระดับความสูงของน้ำในท่อทั้งสองฝั่งจะเท่ากับ L ในที่นี้เราจะไม่สนใจความตึงผิวและความหนืดของของเหลว ถ้าเติมน้ำมันที่มีความหนาแน่นครึ่งหนึ่งของน้ำลงไปในด้านหนึ่งของท่อ จนกระทั่งความยาวของลำน้ำมันเท่ากับความยาวของลำน้ำ จงหาผลต่างความสูงของน้ำและน้ำมันที่จุดสมดุล |
A | L |
B | L/2 |
C | L/3 |
D | 3L/4 |
E | L/4 |
210. | ยิงวัตถุขึ้นฟ้าด้วยอัตราเร็ว 50 m/s แล้วตกกลับลงมาพื้นดินด้วยสัมประสิทธิ์การกระแทก CR = 0.9 หมายความว่า วัตถุจะมีการกระเด้งกลับด้วยอัตราเร็ว 90% ของอัตราเร็วที่ตกลงมา จงหาเวลารวมที่ใช้ ตั้งแต่เริ่มยิ่งวัตถุจนกระทั้งตกกลับลงมาถึงพื้นแล้วหยุดนิ่ง สมมุติว่าเวลาในการกระแทกเป็นศูนย์ (การกระเด้งกลับเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว) เหตุการณ์นี้เป็นแบบอุดมคติ และไม่สนใจผลควอนตัมใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับการกระแทก |
A | 71 s |
B | 100 s |
C | 141 s |
D | 1000 s |
E | ∞ (วัตถุจะไม่มีวันหยุดนิ่ง) |
211. | ปล่อยลูกบอลตันกลิ้งจากจุดนิ่งไปตามพื้นเอียงที่มีมุม θ ต่างๆ แต่ความสูง h มีค่าเท่ากัน ค่าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานสถิต และแรงเสียดทานจลน์ทั้งสองมีค่าเท่ากับ μ กราฟใดแสดงพลังงานจลน์สุทธิของลูกบอลที่ด้านล่างของพื้นเอียง ที่เปลี่ยนไปตามมุม θ ต่างๆ ได้ถูกต้อง |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
212. | วัตถุ 2.0 kg เดิมหยุดนิ่งตกลงมาจากความสูง 5.0 เมตร ไปโดนวัตถุ 6.0 kg ที่ตั้งอยู่บนสปริงเบาที่มีค่านิจสปริง k = 72 N / m จากการกระแทก ทำให้วัตถุทั้งสองติดไปด้วยกันและทำให้สปริงเกิดการสั่น จงหาว่าวัตถุ 6.0 kg จะเคลื่อนที่ไปได้ไกลเท่าไรจากจุดเริ่มต้น |
A | 0.27 m |
B | 1.1 m |
C | 2.5 m |
D | 2.8 m |
E | 3.1 m |
213. | อัตราเร็วของคลื่นตามขวางในเส้นลวดเหล็ก หาจาก
\(\rm v = \sqrt {\dfrac{T}{{M/L}}}\)
โดย T คือ แรงตึงในเส้นลวด M คือ มวล และ L คือ ความยาวลวด สมมุติว่าไม่มีการยืดจากแรงตึง ถ้าลวดเหล็กสองอันที่ยาวเท่ากัน แต่เส้นแรกมีรัศมี r1 เส้นที่สองรัศมี r2 = 4r1 แต่ละสายถูกดึงให้ตึงที่สุดเท่าที่จะตึงได้โดยไม่ขาดออก แล้วอัตราส่วนความถี่มูลฐานของการสั่น ของลวดทั้งสองเส้น f1/f2 เท่ากับข้อใด |
A | \(1\) |
B | \(\sqrt2\) |
C | \(2\) |
D | \(2\sqrt2\) |
E | \(4\) |
214. | รถกระป๋อง A และ B เหมือนกันทุกประการ แต่ละคันมีมวล m ทั้งสองคันเชื่อมกันด้วยสปริงที่มีค่านิจสปริง k และมีสปริงอีกสองเส้นเชื่อมรถทั้งสองกับกำแพง ดังรูป รถสามารถขยับตามการสั่นของสปริงได้อย่างอิสระ และมีทิศทางเดียวโดยไม่มีความฝืด
![]() \(\rm {x_{\rm{A}}}(t) = {x_0}sin{\omega _1}t = {x_{\rm{B}}}(t)\)
โดย \(\rm x_{_A}\) และ \(\rm x_{_B}\) คือ ระยะของรถเทียบกับตำแหน่งสมดุลของรถแต่ละคัน ภายใต้เงื่อนไขเริ่มต้นอีกแบบ รถสองคันจะมีเฟสการแกว่ง คือ \(\rm {x_{\rm{A}}}(t) = {x_0}sin{\omega _2}t = - {x_{\rm{B}}}(t)\)
อัตราส่วน \(\rm {\omega _2}/{\omega _1}\) จะมีค่าเท่ากับข้อใด |
A | \(\sqrt3\) |
B | \(2\) |
C | \(2\sqrt2\) |
D | \(3\) |
E | \(5\) |
215. | รถเลี้ยวขวาด้วยอัตราเร็วคงที่เป็นวงกลม ให้ X เป็นเวกเตอร์โมเมนตัมเชิงมุมรอบศูนย์กลางของวงกลม และ Y เป็นเวกเตอร์ความเร่งของรถ จากมุมมองของคนขับข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง |
A | X ไปทางซ้าย และ Y ไปทางซ้าย |
B | X ไปข้างหน้า และ Y ไปทางขวา |
C | X พุ่งลง และ Y ไปข้างหน้า |
D | X ไปทางซ้าย และ Y ไปทางขวา |
E | X พุ่งลง และ Y ไปทางขวา |
216. | ลูกบอลกลิ้งลงมาจากพื้นเอียงโดยไม่ไถล ดังรูป
![]() |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
217. | วัตถุที่มีความหนาแน่นสม่ำเสมอ มีส่วนที่ลอยพ้นน้ำอยู่ 20% ของวัตถุ ถ้าออกแรงกดที่ด้านบนของวัตถุ 3 N จะทำให้วัตถุจมทั้งชิ้น แล้ววัตถุมีปริมาตรเท่าใด ให้ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ ρน้ำ = 1000 kg/m3 |
A | Vวัตถุ = 0.3 ลิตร |
B | Vวัตถุ = 0.67 ลิตร |
C | Vวัตถุ = 1.2 ลิตร |
D | Vวัตถุ = 1.5 ลิตร |
E | Vวัตถุ = 3.0 ลิตร |
218. | จากข้อความที่กำหนด จงหาจำนวนชิ้นส่วน N1 , N2 และ N3 ให้ถูกต้อง ให้สมมุติว่าไม่มีแรงภายนอกมากระทำ และ ในกรณีที่ไม่สามารถสรุปจำนวนชิ้นส่วนได้ให้ใช้ N = 1 • ถ้าวัตถุระเบิดเป็น N1 ชิ้น (หรือจำนวนชิ้นน้อยกว่านี้) โดยที่ทราบมวลของแต่ละชิ้นและทราบพลังงานจลน์รวม แล้วเราจะสามารถหาพลังงานจลน์ของแต่ละชิ้นได้ • ถ้าวัตถุระเบิดเป็น N2 ชิ้น (หรือจำนวนชิ้นน้อยกว่านี้) ความเร็วของวัตถุแต่ละชิ้นจะต้องอยู่บนเส้นตรงเดียวกัน • ถ้าวัตถุระเบิดเป็น N3 ชิ้น (หรือจำนวนชิ้นน้อยกว่านี้) ความเร็วของวัตถุแต่ละชิ้นจะต้องอยู่บนระนาบ |
A | N1 = 2, N2 = 1, N3 = 1 |
B | N1 = 1, N2 = 2, N3 = 3 |
C | N1 = 2, N2 = 2, N3 = 3 |
D | N1 = 3, N2 = 2, N3 = 3 |
E | N1 = 2, N2 = 3, N3 = 4 |
219. | ขี่จักรยานตามรางที่เป็นวงกลมรัศมี 30 m ด้วยอัตราเร็วคงที่ 10 m / s (เร็วมาก!) แล้วขนาดของมุมในการเข้าโค้งของผู้ขี่จักรยานเทียบกับแนวตั้ง ที่ไม่ทำให้จักรยานล้มเท่ากับข้อใด สมมุติว่า ความสูงของคนขี่จักรยานเตี้ยกว่าความยาวรัศมีของราง |
A | 9.46° |
B | 9.59° |
C | 18.4° |
D | 19.5° |
E | 70.5° |
220. | ลูกบาศก์มวล 10 kg แต่ละด้านยาว 5 m สามารถขยับไปตามพื้นราบได้อย่างอิสระโดยไม่มีแรงเสียดทาน ภายในลูกบาศก์มีกล่องเล็กๆ มวล 2 kg ซึ่งเคลื่อนที่ภายในลูกบาศก์ โดยไม่มีแรงเสียดทาน ที่เวลา t = 0 ถ้ากล่องเล็กๆ เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 m / s ไปยังด้านหนึ่งของกล่อง โดยลูกบาศก์ยังคงหยุดนิ่ง และสัมประสิทธิ์การกระแทกสำหรับการชนกันระหว่างลูกบาศก์กับกล่องเท่ากับ 90% หมายความว่าอัตราเร็วสัมพัทธ์ระหว่างลูกบาศก์กับกล่อง หลังการชนจะเท่ากับ 90% ของอัตราเร็วสัมพัทธ์ระหว่างลูกบาศก์กับกล่อง ก่อนการชน
![]() |
A | 0 m |
B | 50 m |
C | 100 m |
D | 200 m |
E | 300 m |
221. | คานยาว 1.00 m มีความหนาแน่นสม่ำเสมอ มีจุดหมุนห่างจากปลายคาน 30 cm ถ้าคานเกิดสมดุลเมื่อวางวัตถุมวล 50.0 g ให้ห่างจากปลายคาน 20 cm (อ้างอิงปลายเดิม) แล้วคานมีมวลเท่าไร |
222. | นำวัตถุมวล M ไปแขวนกับสปริงที่มีค่านิจสปริง k และปล่อยให้แขวนลงมาในแนวตั้ง โดยคาบของการสั่นเท่ากับ T0 ถ้าตัดสปริงให้เหลือครึ่งเดียวแต่ยังใช้มวลเท่าเดิม แล้วนำไปวางบนพื้นลื่นที่เอียง θ กับแนวนอน แล้วคาบของการสั่นบนพื้นเอียงในเทอมของ T0 เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm T_0\) |
B | \(\rm T_0/2\) |
C | \(\rm 2T_0\sin θ\) |
D | \(\rm T_0/\sqrt2\) |
E | \(\rm T_0\sin θ / \sqrt2\) |
223. | กำหนด กราฟแรงที่กระทำกับวัตถุหนัก 5.00 ตามเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป ดังรูป ถ้าความเร็วที่ t = 0.0 s คือ +1.0 m / s แล้วความเร็วของวัตถุที่ t = 7 s คือข้อใด ![]() |
A | 2.45 m/s |
B | 2.50 m/s |
C | 3.50 m/s |
D | 12.5 m/s |
E | 15.0 m/s |
224. | รถบังคับวิทยุถูกผูกติดกับเสาด้วยเชือกยาว 3.00 m และถูกบังคับให้วิ่งเป็นวงกลม ด้วยความเร็วเชิงมุมเริ่มต้น 1.00 rad / s และเร่งความเร็วต่อเนื่องด้วยอัตรา 4.00 rad / s2 ถ้าเชือกขาดเมื่อความเร่งสู่ศูนย์กลางเกิน 2.43×102 m / s2 แล้วเราสามารถเร่งความเร็วรถได้นานแค่ไหนก่อนเชือกขาด |
A | 0.25 s |
B | 0.50 s |
C | 1.00 s |
D | 1.50 s |
E | 2.00 s |
225. | มวล m ติดสปริงในอุดมคติ ถูกนำไปวางในแนวนอนบนพื้นลื่น จากนั้นดึงมวลเล็กน้อย แล้วปล่อยออก ข้อใดแสดงกราฟพลังงานจลน์กับฟังก์ชันของพลังงานศักย์ได้ถูกต้องที่สุด |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
226. | เฮลิคอปเตอร์กระดาษ มีรัศมีใบพัด r มีน้ำหนัก W ถูกปล่อยที่ความสูง h กลางอากาศที่มีความหนาแน่น ρ
![]() \(\rm T = kh^α r^βρ^δ W^ω\)
โดยที่ k เป็นค่าคงที่ที่ไม่มีมิติ (ค่าแท้จริงคือ 1.164) α, β, δ, และ ω เป็นค่าคงตัวของเลขชี้กำลังที่ต้องหาแล้วค่า α เท่ากับข้อใด |
A | α = -1 |
B | α = -1/2 |
C | α = 0 |
D | α = 1/2 |
E | α = 1 |
227. | เฮลิคอปเตอร์กระดาษ มีรัศมีใบพัด r มีน้ำหนัก W ถูกปล่อยที่ความสูง h กลางอากาศที่มีความหนาแน่น ρ สมมุติว่า เฮลิคอปเตอร์ไปถึง
![]() \(\rm T = kh^α r^βρ^δ W^ω\)
โดยที่ k เป็นค่าคงที่ที่ไม่มีมิติ (ค่าแท้จริงคือ 1.164) α, β, δ, และ ω เป็นค่าคงตัวของเลขชี้กำลังที่ต้องหาแล้วค่า β เท่ากับข้อใด |
A | β = 1/3 |
B | β = 1/2 |
C | β = 2/3 |
D | β = 1 |
E | ข้อมูลไม่เพียงพอสำหรับการหาค่า β |
228. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) แผ่นกลมมวล M มีโมเมนต์ความเฉื่อย I รัศมี R มีเชือกพันรอบแผ่นกลมไว้ ดังรูป แผ่นกลมกลิ้งอย่างอิสระไปตามทิศทางที่แสดงดังรูป มีแรงคงที่ T กระทำที่ปลายเชือก และทำให้แผ่นกลมมีความเร่งบนพื้นลื่น ![]() |
A | \(\rm \dfrac{I}{{M{R^2}}}\) |
B | \(\rm \dfrac{{M{R^2}}}{I}\) |
C | \(\rm \dfrac{I}{{3M{R^2}}}\) |
D | \(\rm \dfrac{I}{{M{R^2} + I}}\) |
E | \(\rm \dfrac{{M{R^2}}}{{M{R^2} + I}}\) |
229. | ให้ทอร์กสูงสุดที่ออกมาจากเครื่องยนต์ของรถทดลองมวล m คือ τ อัตราเร็วเชิงมุมสูงสุดของเครื่องยนต์คือ ω เครื่องยนต์มีกำลังที่ออกมาคงที่ P และเครื่องยนต์เชื่อมต่อกับล้ออย่างไม่มีการสูญเสียพลังงาน ถ้าล้อมีรัศมี R และสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานสถิตระหว่างล้อกับถนนคือ μ แล้วอัตราเร็วสูงสุดที่รถสามารถวิ่งบนพื้นเอียง 30 องศา ได้เท่ากับข้อใด สมมุติว่า ไม่มีการสูญเสียจากแรงเสียดทาน และ μ มีขนาดใหญ่พอที่จะทำให้ยางไม่ไถลขณะวิ่ง |
A | \(\rm v = 2P/(mg)\) |
B | \(\rm v = 2P/(\sqrt3mg)\) |
C | \(\rm v = 2P/( μmg)\) |
D | \(\rm v = τω /(mg)\) |
E | \(\rm v = τω /( μmg)\) |
230. | วัตถุมวล m1 เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v0 ชนกับวัตถุมวล m2 = αm1 โดย α < 1 จากเดิมหยุดนิ่ง การชนนี้อาจยืดหยุ่นสมบูรณ์ ไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ หรือ ไม่ยืดหยุ่นบางส่วนก็ได้ หลังการชนวัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v1 และ v2 สมมุติว่า การชนเกิดขึ้นในหนึ่งมิติและวัตถุแรกไม่สามารถพุ่งผ่านวัตถุสองได้ หลังการชน อัตราส่วนอัตราเร็ว r1 = v1 / v0 ของวัตถุแรกจะอยู่ในช่วงใด |
A | (1 – α) / (1 + α) ≤ r1 ≤ 1 |
B | (1 – α) / (1 + α) ≤ r1 ≤ 1 / (1 + α) |
C | α / (1 + α) ≤ r1 ≤ 1 |
D | 0 ≤ r1 ≤ 2α / (1 + α) |
E | 1 / (1 + α) ≤ r1 ≤ 2 / (1 + α) |
231. | เมฆละอองฝุ่นทรงกลมในอวกาศ มีความหนาแน่นสม่ำเสมอ ρ0 มีรัศมี R0 และมีความเร่งโน้มถ่วงที่ผิวเมฆเป็น g0 ถ้าการเกิดก้อนเมฆ (การขยายตัวเนื่องจากความร้อน) ทำให้รัศมีของเมฆเป็น 2R0 และละอองฝุ่นยังคงกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ แล้วความเร่งโน้มถ่วงปัจจุบันที่ระยะ R0 จากศูนย์กลางของก้อนเมฆ เท่ากับข้อใด |
A | g0 / 32 |
B | g0 / 16 |
C | g0 / 8 |
D | g0 / 4 |
E | g0 / 2 |
232. | พิจารณกล่องและเครื่องชั่งสองอัน ดังรูป ให้เครื่องชั่ง A รับน้ำหนักกล่องผ่านเชือกเบา ภายในกล่องมีรอกแขวนลงมาจากด้านบน และมีเชือกเบาอีกเส้นคล้องผ่านรอก ให้ปลายด้านหนึ่งยึดกับพื้นกล่อง และปลายอีกด้านหนึ่งผูกกับเครื่องชั่ง B ความตึงในเส้นเชือกที่อ่านจากเครื่องชั่งทั้งสองคือ TA และ TB ให้เดิมเครื่องชั่ง A อ่านได้ 30 นิวตัน และเครื่องชั่ง B อ่านได้ 20 นิวตัน
![]() ( ดัดแปลงมาจากการสาธิตของ Richard Berg ) |
A | 35 นิวตัน |
B | 40 นิวตัน |
C | 45 นิวตัน |
D | 50 นิวตัน |
E | 60 นิวตัน |
233. | เฮลิคอปเตอร์บินตามแนวนอนด้วยอัตราเร็วคงที่ มีสายเคเบิลที่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ตลอดเส้นผูกติดไว้ที่ใต้เฮลิคอปเตอร์ และมีแรงต้านอากาศกระทำกับสายเคเบิลอยู่พอสมควร แล้วข้อใดแสดงลักษณะของสายเคเบิลขณะที่เฮลิคอปเตอร์บินไปทางขวาได้ถูกต้องที่สุด |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
234. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างสถานีอวกาศแห่งใหม่ที่มีรูปร่างคล้ายล้อรถ มีรัศมี R โครงสร้างทั้งหมดมีมวล M อยู่ที่ส่วนขอบ เมื่อนักบินอวกาศมาถึงสถานี สถานีจะหมุนในอัตราที่ทำให้วัตถุที่ขอบของสถานีมีความเร่งสู่ศูนย์กลางเป็น g ให้ใกล้เคียงกับแรงโน้มถ่วงของโลก โดยสภาวะนั้นต้องพึ่งจรวดเล็กสองลำ แต่ละลำมีแรงดัน T นิวตัน ให้ติดตั้งบนขอบของสถานี แล้วจรวดต้องใช้เวลาเดินเครื่อง t เท่าใด จึงจะทำให้เกิดสภาวะที่ต้องการ (ดัดแปลงมาจาก Physics for Scientists and Engineers โดย Richard Wolfson) |
A | \(\rm t = \sqrt{gR^3} M / (2T)\) |
B | \(\rm t = \sqrt{gR} M / (2T)\) |
C | \(\rm t = \sqrt{gR} M / T\) |
D | \(\rm t = \sqrt{gR/\pi} M / T\) |
E | \(\rm t = \sqrt{gR} M / (\pi T)\) |
235. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) ให้รอกสองอัน ทำจากโลหะชนิดเดียวกันมีความหนาแน่น ρ (แสดงดังรูป) รอก A เป็นแบบแผ่นกลมสม่ำเสมอมีรัศมี R รอก B เป็นแบบวงแหวน ส่วนที่กลวงมีรัศมี R/2 นำกล่องสองใบมวล M = αm (α > 1) แขวนกับรอกผ่านเชือกเบา และหมุนโดยไม่ไถล แล้วอัตราส่วนความเร่งในระบบ A กับ B เท่ากับข้อใด ถ้ามวลของรอก A เท่ากับ M + m
![]() |
A | aA / aB = 47 / 48 |
B | aA / aB = 31 / 32 |
C | aA / aB = 15 / 16 |
D | aA / aB = 9 / 6 |
E | aA / aB = 3 / 4 |
236. | ดาวเคราะห์มวล M และ m << M อยู่ในวงโคจรรอบจุดศูนย์กลางมวล ภายใต้แรงดึงดูดซึ่งกันและกัน และดาวทั้งสองอยู่ห่างกัน R ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าดาวทั้งสองดวง ถ้าชิ้นส่วนเล็ก ๆ ขนาด δm << m จากดาวมวล m ถูกดูดไปยังดาวมวล M โดยการถ่ายโอนนี้เกิดขึ้นในขณะที่วงโคจรของดาวทั้งสองยังเป็นวงกลม และยังคงห่างกัน R แล้วข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง |
A | แรงดึงดูดระหว่างดาวทั้งสองจะเพิ่มขึ้น |
B | แรงดึงดูดระหว่างดาวทั้งสองจะยังคงที่ |
C | โมเมนตัมเชิงมุมสุทธิของระบบจะเพิ่มขึ้น |
D | โมเมนตัมเชิงมุมสุทธิของระบบจะยังคงที่ |
E | คาบของวงโคจรของดาวเคราะห์ทั้งสองจะยังคงเป็นค่าคงที่ |
237. | นักบินอวกาศมวล 100 kg พกปืนที่บรรจุกระสุนขนาดใหญ่ไว้ 10 kg ตัวปืนและชุดนักบินมีมวลน้อยมาก เมื่อเหนี่ยวไกกระสุนจะพุ่งออกด้วยอัตราเร็วสัมพัทธ์ 50 m/s เทียบกับนักบิน แล้วขณะเหนี่ยวไก นักบินอวกาศจะได้รับแรงดลจากปืนเท่าใด |
A | 455 Ns |
B | 500 Ns |
C | 550 Ns |
D | 5000 Ns |
E | 5500 Ns |
238. | นักบินอวกาศมวล 100 kg พกปืนที่บรรจุกระสุนขนาดใหญ่ไว้ 10 kg ตัวปืนและชุดนักบินมีมวลน้อยมาก เมื่อเหนี่ยวไกกระสุนจะพุ่งออกด้วยอัตราเร็วสัมพัทธ์ 50 m/s เทียบกับนักบิน หากก่อนหน้านี้นักบินอวกาศมาด้วยความเร็ว 10 m/s (วัดในกรอบอ้างอิงหนึ่ง) แล้วเขาต้องการยิงปืน เพื่อให้ความเร็วของเขาเปลี่ยนไปจากเดิมเป็นมุมที่มากที่สุดเมื่อเทียบกับทิศเดิม (วัดในกรอบอ้างอิงเดียวกัน) แล้วขนาดของมุมที่มากที่สุดเท่ากับข้อใด (คำแนะนำ: ลองวาดภาพประกอบดู) |
A | 24.4° |
B | 26.6° |
C | 27.0° |
D | 30.0° |
E | 180.0° |
239. | ปล่อยกล่องมวล m จากหยุดนิ่ง ให้ลงมาตามทางลาดโดยไม่มีแรงเสียดทาน ที่ความสูง h1 จากฐานของทางลาด เมื่อเลื่อนมาถึงฐานทางลาดแรกมันจะเลื่อนขึ้นทางลาดที่สอง โดยสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานของกล่องกับทางลาดที่สองเท่ากับ μk ถ้าทั้งสองทางลาดทำมุม θ กับแนวนอน แล้วความสูง h2 ที่วัดจากฐานของทางลาดที่สองที่ทำให้กล่องขึ้นไปได้ เท่ากับข้อใด |
A | h2 = (h1 sinθ) / (μk cosθ + sinθ) |
B | h2 = (h1 sinθ) / (μk + sinθ) |
C | h2 = (h1 sinθ) / (μk cos2 θ + sinθ) |
D | h2 = (h1 sinθ) / (μk cos2 θ + sin2 θ) |
E | h2 = (h1 cosθ) / (μk sinθ + cosθ) |
240. | ผู้สังเกตยืนอยู่ด้านข้างของด้านหน้าขบวนรถไฟที่จอดอยู่ เมื่อรถไฟเริ่มวิ่งด้วยความเร่งคงที่ โบกี้แรกจะผ่านผู้สังเกตไปโดยใช้เวลา 5 วินาที ต้องใช้เวลาเท่าไร โบกี้ที่ 10 (คิดเฉพาะโบกี้นี้) ถึงจะผ่านผู้สังเกตไป |
A | 1.07 s |
B | 0.98 s |
C | 0.91 s |
D | 0.86 s |
E | 0.81 s |
241. | ก ยืนห่างจากกำแพง 20 m และ ข ยืนห่างจากกำแพงเดียวกัน 10 m ถ้า ก โยนลูกบอลทำมุมเงย 30◦ และชนแบบยืดหยุ่นกับกำแพง แล้ว ก ต้องโยนลูกบอลด้วยความเร็วเท่าไร ลูกบอลจึงจะตกที่ ข พอดี ให้ ก และ ข ให้มีความสูงเท่ากัน และทั้งคู่อยู่ในแนวตั้งฉากเดียวกันกับกำแพง |
A | 11 m/s |
B | 15 m/s |
C | 19 m/s |
D | 30 m/s |
E | 35 m/s |
242. | ก โยนบอลให้ ข ที่อยู่ห่างออกไป l และ ก สามารถกำหนดเวลา t ที่บอลจะลอยไป จากอัตราเร็วที่ใช้ ซึ่งเขาจะใช้อัตราเร็วเท่าไรก็ได้จนถึง vmax และเลือกมุมที่ใช้ในการโยนเท่าไรก็ได้ ในช่วง 0◦ ถึง 90◦ ถ้าไม่คำนึงถึงแรงต้านอากาศ และถือว่า ก และ ข ความสูงเท่ากัน แล้วข้อความใดต่อไปนี้ผิด |
A | ถ้า vmax < \(\sqrt{\text{g}l} \) แล้วบอลจะไม่สามารถไปถึง ข ได้ |
B | กรณีที่บอลไปถึง ข ถ้า vmax เพิ่มขึ้น (ขณะที่ l คงตัว) แล้วค่าต่ำสุดของ t ต้องลดลง |
C | กรณีที่บอลไปถึง ข ถ้า vmax เพิ่มขึ้น (ขณะที่ l คงตัว) แล้วค่าสูงสุดของ t ต้องเพิ่มขึ้น |
D | กรณีที่บอลไปถึง ข ถ้า l เพิ่มขึ้น (ขณะที่ vmax คงตัว) แล้วค่าต่ำสุดของ t ต้องเพิ่มขึ้น |
E | กรณีที่บอลไปถึง ข ถ้า l เพิ่มขึ้น (ขณะที่ vmax คงตัว) แล้วค่าสูงสุดของ t ต้องเพิ่มขึ้น |
243. | ให้ขาตั้งสองขายึดกันด้วยบานพับที่ไม่มีแรงเสียดทาน และสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน ระหว่างพื้นกับขาตั้งเท่ากับ μ แล้วค่า θ สูงสุดในข้อใด ที่ทำให้ขาตั้งไม่ยุบลง
![]() |
A | sinθ = 2μ |
B | sinθ/2 = μ/2 |
C | tanθ/2 = μ |
D | tanθ = 2μ |
E | tanθ/2 = 2μ |
244. | นักเรียนก้าวเข้าไปในลิฟต์และขึ้นไปอยู่บนเครื่องชั่ง เมื่อลิฟต์เคลื่อนที่จากชั้นบนสุด ไปชั้นล่างสุดของอาคาร นักเรียนได้บันทึกน้ำหนักตามเวลาที่เปลี่ยนไป ดังนี้
![]() |
A | ช่วงวินาทีที่ 2 ถึง 4 |
B | ที่วินาทีที่ 4 |
C | ช่วงวินาทีที่ 4 ถึง 22 |
D | ที่วินาทีที่ 22 |
E | ช่วงวินาทีที่ 22 ถึง 24 |
245. | นักเรียนก้าวเข้าไปในลิฟต์และขึ้นไปอยู่บนเครื่องชั่ง เมื่อลิฟต์เคลื่อนที่จากชั้นบนสุด ไปชั้นล่างสุดของอาคาร นักเรียนได้บันทึกน้ำหนักตามเวลาที่เปลี่ยนไป ดังนี้
![]() |
A | 50 m |
B | 80 m |
C | 100 m |
D | 150 m |
E | 400 m |
246. | ให้รถยนต์และรถบรรทุกมีโมเมนตัมเดียวกัน รถบรรทุกมีน้ำหนักเป็นสิบเท่าของรถยนต์ ข้อใดเปรียบเทียบพลังงานจลน์ของรถทั้งสองคันได้ถูกต้อง |
A | พลังงานจลน์ของรถบรรทุก มีค่ามากกว่า 100 เท่า |
B | พลังงานจลน์ของรถบรรทุก มีค่ามากกว่า 10 เท่า |
C | พลังงานจลน์ของรถทั้งคัน มีค่าเท่ากัน |
D | พลังงานจลน์ของรถยนต์ มีค่ามากกว่า 10 เท่า |
E | พลังงานจลน์ของรถยนต์ มีค่ามากกว่า 100 เท่า |
247. | รถบรรทุกมีความเร็วเริ่มต้น v คนขับได้เบรกจนกระทั่งรถหยุด โดยเบรกกระทำกับรถด้วยแรงคงที่ F ระยะทางที่รถบรรทุกเคลื่อนที่ไปจนกระทั่งหยุดคือ x และเวลาที่ใช้ในการหยุดรถคือ t แล้วข้อใดแสดงพลังงานจลน์เริ่มต้นของรถบรรทุกได้ถูกต้อง (พลังงานจลน์ก่อนคนขับเบรก) |
A | Fx |
B | Fvt |
C | Fxt |
D | Ft |
E | ถูกทั้งข้อ (A) และ (B) |
248. | รถบรรทุกมีความเร็วเริ่มต้น v คนขับได้เบรกจนกระทั่งรถหยุด โดยเบรกกระทำกับรถด้วยแรงคงที่ F ระยะทางที่รถบรรทุกเคลื่อนที่ไปจนกระทั่งหยุดคือ x และเวลาที่ใช้ในการหยุดรถคือ t แล้วข้อใดต่อไปนี้แสดงโมเมนตัมเริ่มต้นของรถบรรทุกได้ถูกต้อง (โมเมนตัมก่อนคนขับรถเบรก) |
A | Fx |
B | Ft/2 |
C | Fxt |
D | 2Ft |
E | 2Fx/v |
249. | ข้อใดคือวิธีแยกบอลกลมตัน กับบอลกลมกลวง ที่มีรัศมีและมวลเท่ากัน ได้ดีที่สุด |
A | ดูจากการโคจรของมวลทดสอบบอลนั้น |
B | ดูจากเวลาที่วัตถุกลิ้งลงมาจากพื้นเอียง |
C | ดูจากแรงไทดัลที่กระทำกับวัตถุในของเหลว |
D | ดูจากลักษณะการลอยตัวของวัตถุในน้ำ |
E | ดูจากแรงที่กระทำกับวัตถุในสนามโน้มถ่วงที่สม่ำเสมอ |
250. | บล็อกไม้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากมวล M วางอยู่บนโต๊ะ ดังรูป มีลูกบาศก์ไม้ขนาดเล็ก มวล m สองอัน วางในแต่ละด้านของด้านประกอบมุมฉาก ให้พื้นผิวสัมผัสระหว่างลูกบาศก์และบล็อกไม้ไม่มีแรงเสียดทาน และในขณะที่ลูกบาศก์เล็กเลื่อนลงมา บล็อกไม้สามเหลี่ยมจะยังคงอยู่ที่เดิม แล้วแรงในแนวตั้งฉากกับผิวสัมผัส (Normal Force) ของระบบกับโต๊ะเท่ากับข้อใด
![]() |
A | 2mg |
B | 2mg + Mg |
C | mg + Mg |
D | Mg + mg(sinα + sinβ) |
E | Mg + mg(cosα + cosβ) |
251. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) ทรงกลมกลวงมวล M รัศมี R มีของเหลวมวล M บรรจุไว้เต็ม โดยไม่มีแรงเสียดทาน (ไม่มีความหนืด) ทรงกลมที่เดิมอยู่นิ่ง ถูกปล่อยลงมาจากทางลาดที่ทำมุม θ กับแนวนอน โดยไม่มีการไถล แล้วความเร่งของทรงกลมหลังปล่อยลงมาเท่ากับข้อใด สมมุติว่า ความเร่งของการตกอย่างอิสระคือ g โมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกลมกลวงรัศมี r มวล m ที่จุดศูนย์กลางมวล คือ \(\rm I = \dfrac{2}{3} mr^2\) โมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกลมตันรัศมี r มวล m ที่จุดศูนย์กลางมวล คือ \(\rm I = \dfrac{2}{5} mr^2\) |
A | \(\rm a = g ~sinθ\) |
B | \(\rm a = \dfrac{3}{4} g ~sinθ\) |
C | \(\rm a = \dfrac{1}{2} g ~sinθ\) |
D | \(\rm a = \dfrac{3}{8} g ~sinθ\) |
E | \(\rm a = \dfrac{3}{5} g ~sinθ\) |
252. | ที่วงแหวนด้านนอกของดาวเสาร์ การระบุชั้นที่เป็นส่วนหนึ่งของดาวเสาร์ หรือชั้นที่เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ เราจะต้องทราบความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็ว v ของแต่ละชั้นในวงแหวน และระยะทางที่วัดจากศูนย์กลางของดาวเสาร์ R ของแต่ละชั้นเสียก่อน จงพิจารณาว่าข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง |
A | ถ้า v ∝ R แสดงว่า ชั้นนั้นเป็นส่วนหนึ่งของดาวเสาร์ |
B | ถ้า v2 ∝ R แสดงว่า ชั้นนั้นเป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ |
C | ถ้า v ∝ 1/R แสดงว่า ชั้นนั้นเป็นส่วนหนึ่งของดาวเสาร์ |
D | ถ้า v2 ∝ 1/R แสดงว่า ชั้นนั้นเป็นส่วนหนึ่งของดาวเสาร์ |
E | ถ้า v ∝ R2 แสดงว่า ชั้นนั้นเป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ |
253. | รถเข็นมวล m เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ว 12 m/s ชนแบบยืดหยุ่นกับรถเข็นมวล 4.0 kg ที่เดิมอยู่นิ่ง หลังการชน รถเข็นมวล m เคลื่อนที่ไปทางซ้ายด้วยความเร็ว 6.0 m/s ถ้าการชนแบบยืดหยุ่นเกิดในมิติเดียว แล้วความเร็วที่จุดศูนย์กลางมวล (vcm) ของรถเข็นทั้งสองคัน ก่อนชนเท่ากับข้อใด |
A | vcm = 2.0 m/s |
B | vcm = 3.0 m/s |
C | vcm = 6.0 m/s |
D | vcm = 9.0 m/s |
E | vcm = 18 m/s |
254. | คานสม่ำเสมอ มีส่วนหนึ่งจมอยู่ในน้ำและปลายด้านหนึ่งถูกแขวนไว้ ดังรูป ถ้าคานมีความหนาแน่นเป็น 5/9 ของน้ำ แล้วที่ภาวะสมดุล สัดส่วนของคานที่อยู่เหนือน้ำจะเท่ากับข้อใด
![]() |
A | 0.25 |
B | 0.33 |
C | 0.5 |
D | 0.67 |
E | 0.75 |
255. | แนวคิดจาก โจทย์โอลิมปิกฟิสิกส์นานาชาติ 2012 ที่ เอสโตเนีย อนุภาคขนาดเล็กจำนวนมากรวมตัวเป็นเมฆทรงกลมในอวกาศ ที่สภาวะหยุดนิ่ง อนุภาคจะมีความหนาแน่นของมวลต่อปริมาตรเป็น ρ0 และมีรัศมี r0 ถ้าแรงโน้มถ่วงทำให้ยุบตัว โดยมีเฉพาะแรงโน้มถ่วงที่กระทำระหว่างกัน (ไม่มีแรงอื่น) แล้วต้องใช้เวลานานแค่ไหนเมฆจึงจะยุบตัวสมบูรณ์ (ค่าจริงของ 0.5427 คือ\(\sqrt{\frac{3\pi}{32}}\)) |
A | \(\rm \dfrac{0.5427}{r_0^2\sqrt{G\rho_0}}\) |
B | \(\rm \dfrac{0.5427}{r_0\sqrt{G\rho_0}}\) |
C | \(\rm \dfrac{0.5427}{\sqrt{r_0}\sqrt{G\rho_0}}\) |
D | \(\rm \dfrac{0.5427}{\sqrt{G\rho_0}}\) |
E | \(\rm \dfrac{0.5427}{\sqrt{G\rho_0}}r_0\) |
256. | วัตถุมวลเท่ากันสองอันเชื่อมกันด้วยคานเบา และโคจรรอบดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง โดยคานมีความยาวระดับหนึ่ง แต่สั้นกว่ารัศมีวงโคจร ขณะโคจร คานจะอยู่ในลักษณะตั้งฉากกับดาวเคราะห์เสมอ • มีแรงเกิดขึ้นที่คานหรือไม่ ? ถ้ามีจะเป็นแรงดึงหรือแรงอัด ? • จะเกิดสภาวะสมดุลเสถียร ไม่เสถียร หรือตามธรรมชาติ เมื่อมีการรบกวนการทำมุมของคานเพียงเล็กน้อย ? ( การรบกวนในที่นี้ คือ การรบกวนการรักษาอัตราการหมุนที่ทำให้คานยังคงตั้งฉากกับดาวเคราะห์ ) ![]() |
A | ไม่มีแรงใดเกิดขึ้น และมีสภาวะสมดุลตามธรรมชาติ |
B | มีแรงดึงเกิดขึ้น และมีสภาวะสมดุลเสถียร |
C | มีแรงอัดเกิดขึ้น และมีสภาวะสมดุลเสถียร |
D | มีแรงดึงเกิดขึ้น และมีสภาวะสมดุลไม่เสถียร |
E | มีแรงอัดเกิดขึ้น และมีสภาวะสมดุลไม่เสถียร |
257. | อนุภาคมวล 1 kg สองอัน มีสถานะเริ่มต้น ดังรูป
![]() |
A | ![]() |
B | ![]() |
C | ![]() |
D | ![]() |
E | ![]() |
258. | การทดสอบลูกตุ้มอย่างง่าย ประกอบด้วย ลูกตุ้มมวล m ที่ยึดกับแกนหมุนด้วยแท่งเบายาว L ภายใต้สนามโน้มถ่วงคงที่ ลูกตุ้มที่เดิมอยู่นิ่งจะถูกปล่อยลงมาจากมุม θ0 < π / 2 กับแนวเดิม และคาบของการแกว่งคือ T0 โดยไม่คำนึงถึงแรงต้านอากาศและแรงเสียดทาน ขณะที่ลูกตุ้มแกว่ง มุม θg ใด ที่ทำให้เกิดแรงตึงที่แท่งยึดลูกตุ้มมากที่สุด |
A | แรงตึงมากสุดที่ θg = θ0 |
B | แรงตึงมากสุดที่ θg = 0 |
C | แรงตึงมากสุดในช่วง 0 < θg < θ0 |
D | แรงตึงคงที่ |
E | ไม่ข้อใดถูกต้อง เพราะ 0 < θ0 < \(\pi\) / 2 |
259. | การทดสอบลูกตุ้มอย่างง่าย ประกอบด้วย ลูกตุ้มมวล m ที่ยึดกับแกนหมุนด้วยแท่งเบายาว L ภายใต้สนามโน้มถ่วงคงที่ ลูกตุ้มที่เดิมอยู่นิ่งจะถูกปล่อยลงมาจากมุม θ0 < π / 2 กับแนวเดิม และคาบของการแกว่งคือ T0 โดยไม่คำนึงถึงแรงต้านอากาศและแรงเสียดทาน แรงตึงมากสุดที่แท่งยึดลูกตุ้ม จะมีค่าเท่าใด |
A | mg |
B | 2mg |
C | mL θ0/T02 |
D | mg sinθ0 |
E | mg(3 – 2 cosθ0) |
260. | การทดสอบลูกตุ้มอย่างง่าย ประกอบด้วย ลูกตุ้มมวล m ที่ยึดกับแกนหมุนด้วยแท่งเบายาว L ภายใต้สนามโน้มถ่วงคงที่ ลูกตุ้มที่เดิมอยู่นิ่งจะถูกปล่อยลงมาจากมุม θ0 < π / 2 กับแนวเดิม และคาบของการแกว่งคือ T0 โดยไม่คำนึงถึงแรงต้านอากาศและแรงเสียดทาน ถ้าทำการทดลองใหม่ด้วยแท่งยึดลูกตุ้มยาว 4L โดยใช้มุมเดิมคือ θ0 จะได้คาบของการแกว่งคือ T แล้วข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง |
A | T = 2T0 โดยไม่คำนึงถึง θ0 |
B | T > 2T0 โดย T ≈ 2T0 ถ้า θ0 << 1 |
C | T < 2T0 โดย T ≈ 2T0 ถ้า θ0 << 1 |
D | T > 2T0 ในบาง θ0 และ T < 2T0 ในบาง θ0 |
E | ไม่สามารถหาค่า T และ 2T0 ได้ เพราะไม่ใช่การแกว่งแบบมีคาบ ( ยกเว้นกรณี θ0 << 1 ) |
261. | กำหนดภาพจำลองเท้ามนุษย์ ดังรูป ถ้านักเรียนมวล m = 60 kg ยืนด้วยนิ้วเท้าเดียว แล้วแรงตึง T ในเอ็นร้อยหวายควรเท่ากับข้อใด
![]() |
A | T = 600 N |
B | T = 1200 N |
C | T = 1800 N |
D | T = 2400 N |
E | T = 3000 N |
262. | คนมวล m กระโดดบันจี้จัมลงมาจากสะพานสูง ได้ระยะตกสูงสุด H จากนั้นเชือกจะหน่วงให้เขาอยู่นิ่งชั่วขณะก่อนที่จะตีกลับขึ้นไป ให้เชือกมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ตามกฎแรงของฮุค (Hooke's force law) มีค่านิจสปริง k และสามารถยืดจากความยาวเดิม L0 ถึง L = L0 + h ได้ และแรงตึงสูงสุดในเส้นเชือกจะเท่ากับสี่เท่าของน้ำหนักคน แล้วค่านิจสปริงควรมีค่าเท่าใด |
A | \(\rm k=\dfrac{mg}{h}\) |
B | \(\rm k=\dfrac{2mg}{h}\) |
C | \(\rm k=\dfrac{mg}{H}\) |
D | \(\rm k=\dfrac{4mg}{H}\) |
E | \(\rm k=\dfrac{8mg}{H}\) |
263. | คนมวล m กระโดดบันจี้จัมลงมาจากสะพานสูง ได้ระยะตกสูงสุด H จากนั้นเชือกจะหน่วงให้เขาอยู่นิ่งชั่วขณะก่อนที่จะตีกลับขึ้นไป ให้เชือกมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ตามกฎแรงของฮุค (Hooke's force law) มีค่านิจสปริง k และสามารถยืดจากความยาวเดิม L0 ถึง L = L0 + h ได้ และแรงตึงสูงสุดในเส้นเชือกจะเท่ากับสี่เท่าของน้ำหนักคน จงหาระยะยืดสูงสุดของเชือก h |
A | \(\rm h=\dfrac{1}{2}H\) |
B | \(\rm h=\dfrac{1}{4}H\) |
C | \(\rm h=\dfrac{1}{5}H\) |
D | \(\rm h=\dfrac{2}{5}H\) |
E | \(\rm h=\dfrac{1}{8}H\) |
264. | กล่องหนัก W เลื่อนลงมาจากพื้นเอียง 30◦ ด้วยอัตราเร็วคงที่ ภายใต้แรงโน้มถ่วงและแรงเสียดทาน ถ้าเพิ่มแรง P กระทำกับกล่องในแนวนอนจะทำให้กล่องเคลื่อนที่ขึ้นด้วยอัตราเร็วคงที่ แล้วขนาดของ P ควรเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm P = W/2\) |
B | \(\rm P = 2W/\sqrt3\) |
C | \(\rm P = W\) |
D | \(\rm P = \sqrt3W\) |
E | \(\rm P = 2W\) |
265. | พิจารณาหยดน้ำจากก๊อกที่อยู่เหนืออ่างล้างจานประมาณ 10 cm ขณะที่หยดหนึ่งแตะอ่าง มีหนึ่งหยดอยู่ในอากาศ และมีอีกหยดรออยู่ปากก๊อก แล้วระยะห่างของหยดน้ำที่อยู่ในอากาศกับหยดที่แตะอ่างเท่ากับข้อใด |
A | ระหว่าง 0 ถึง 2 cm |
B | ระหว่าง 2 ถึง 4 cm |
C | ระหว่าง 4 ถึง 6 cm |
D | ระหว่าง 6 ถึง 8 cm |
E | ระหว่าง 8 ถึง 10 cm |
266. | กระสุนปืนใหญ่ถูกยิงด้วยความเร็วต้น v0 เหนือระดับพื้นดิน อยากทราบว่า มุมเงยเล็กสุด θmin ที่ทำให้กระสุนมีความสูง H มากกว่าระยะในแนวนอน R ที่วัดจากจุดยิงถึงจุดตกพื้นเท่ากับข้อใด |
267. | รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ถูกวางบนพื้นเอียงที่มีแรงเสียดทานสูงเกินกว่าจะลื่นไถลลงมาได้ แต่ถ้าพื้นเอียงมีความชันมากๆ วัตถุจะ "กลิ้ง" (โดยมีจุดยอดเป็นจุดหมุน) ลงมาได้ แล้วมุมเอียงที่วัตถุจะเริ่มกลิ้งลงมาเท่ากับข้อใด |
A | 30° |
B | 45° |
C | 60° |
D | การกลิ้งเกิดขึ้นได้กับทุกมุมที่มากกว่าศูนย์ |
E | ถ้าไถลลงมาไม่ได้ ก็ไม่มีทางกลิ้งลงมาได้ |
268. | วัตถุที่เดิมหยุดนิ่งระเบิดออกเป็นสามส่วนเท่าๆ กัน โดยไม่คิดแรงภายนอก ถ้าชิ้นส่วนสองชิ้นแตกออกเป็นมุมฉากกับชิ้นอื่น ๆ ด้วยอัตราเร็ว v เท่ากัน แล้วอัตราเร็วของชิ้นที่สามเท่ากับข้อใด |
269. | วัตถุ 12 kg เคลื่อนที่ 4 m / s ไปทางทิศตะวันออก พุ่งชนกับวัตถุ 6 kg ที่เคลื่อนที่ 2 m / s ไปทางทิศตะวันตก ถ้าหลังการชนวัตถุเคลื่อนที่ไปด้วยกัน แล้วพลังงานจลน์ที่สูญเสียไปกับการชนกันนี้เท่ากับข้อใด |
270. | นำปืนใหญ่สองลำมาเรียงในแนวดิ่ง ให้มีระยะห่าง 200 m และหันปากกระบอกเข้าหากัน เมื่อจุดฉนวนยิง ความเร็วจากปากกระบอกปืนด้านล่างจะเท่ากับ 25 m/s และความเร็วจากปากกระบอกปืนด้านบนจะเท่ากับ 55 m/s
![]() |
271. | นำปืนใหญ่สองลำมาเรียงในแนวดิ่ง ให้มีระยะห่าง 200 m และหันปากกระบอกเข้าหากัน เมื่อจุดฉนวนยิง ความเร็วจากปากกระบอกปืนด้านล่างจะเท่ากับ 25 m/s และความเร็วจากปากกระบอกปืนด้านบนจะเท่ากับ 55 m/s
![]() |
272. | วัตถุมวล m = 3.0 kg เคลื่อนที่ตามแนวนอนไปชนกับสปริงเบา ที่มีค่านิจสปริง k = 80.0 N/m สัมประสิทธิ์ แรงเสียดทานระหว่างวัตถุกับพื้น คือ μk = 0.50 ถ้าวัตถุมีอัตราเร็ว 2.0 m/s เมื่อวัตถุชนกับสปริง แล้วระยะหดของสปริงจะเท่ากับข้อใด |
273. | ดาวเคราะห์ทรงกลมสม่ำเสมอรัศมี R มีความเร่งโน้มถ่วงที่ผิวของดาวเท่ากับ g แล้วความเร็วหลุดพ้นของวัตถุจากพื้นผิวดาวเคราะห์จะเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm \dfrac{1}{2}\sqrt{gR}\) |
B | \(\rm \sqrt{gR}\) |
C | \(\rm \sqrt{2gR}\) |
D | \(\rm 2\sqrt{gR}\) |
E | ไม่สามารถแสดงความเร็วหลุดพ้นของวัตถุ ด้วยเทอมของ g และได้ R |
274. | วัตถุสี่ชิ้นถูกวางไว้บนพื้นเอียง จากนั้นปล่อยให้กลิ้งลงมาโดยมีไม่การไถล และไม่คำนึงถึงแรงต้านการหมุน และแรงต้านทานอากาศ • วัตถุ A เป็นลูกบอลทองเหลืองตัน เส้นผ่านศูนย์กลาง d • วัตถุ B เป็นลูกบอลทองเหลืองตัน เส้นผ่าศูนย์กลาง 2d • วัตถุ C เป็นลูกบอลทองเหลืองกลวง เส้นผ่านศูนย์กลาง d • วัตถุ D เป็นลูกบอลอลูมิเนียมตัน เส้นผ่าศูนย์กลาง d (อะลูมิเนียมมีความหนาแน่นน้อยกว่าทองเหลือง) ให้วัตถุถูกวางในลักษณะที่ศูนย์กลางมวลของวัตถุทั้งหมดกลิ้งไปในระยะเดียวกัน และเวลาที่ใช้ในการกลิ้งเป็น T ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง |
A | TB > TC > TA = TD |
B | TB > TC > TA = TD |
C | TB > TC > TA = TD |
D | TC > TA = TB = TD |
E | TA = TB = TC = TD |
275. | จากรูป นาย ก ดึงเชือกที่คล้องผ่านรอกที่ถูกยึดไว้ เพื่อขยับกล่องด้วยอัตราเร็วคงที่ v สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานระหว่างกล่องกับพื้นเป็น μ < 1 สมมุติว่า รอกเบามากและไม่มีแรงเสียดทานระหว่างเชือกและรอก ข้อความใดถูกต้องขณะกล่องเคลื่อนที่
![]() |
A | แรงบนเส้นเชือกเป็นค่าคงที่ |
B | แรงเสียดทานระหว่างพื้นกับกล่องจะลดลง |
C | แรงตั้งฉากของพื้นที่กระทำกับกล่องจะเพิ่มขึ้น |
D | ความดันกล่องที่พื้นจะเพิ่มขึ้น |
E | ความดันกล่องที่พื้นเป็นค่าคงที่ |
276. | ห่วงโลหะสามารถกลิ้งรอบจุดศูนย์กลางได้ มีเชือกเบาสองเส้นผูกติดไว้ที่จุด A และ B ( ยึดติดไว้โดยที่ A และ B ไม่สามารถเลื่อนได้ ) และปลายเชือกอีกด้านผูกติดกับจุดศูนย์กลาง O นอกจากนี้ยังมีวัตถุหนัก G ถูกผูกไว้ที่จุด O ให้เชือกมีความยาวคงที่ น้ำหนัก G มีเฉพาะเชือกที่รับน้ำหนักไว้ และเดิมเส้นตรง OA อยู่ในแนวนอน
![]() |
A | T1 จะลดลง |
B | T1 จะเพิ่มขึ้น |
C | T2 จะเพิ่มขึ้น |
D | T2 จะเป็นศูนย์หลังจากหยุดหมุน |
E | T2 ตอนแรกจะเพิ่มขึ้น จากนั้นจะลดลง |
277. | กำหนด กราฟของแรงที่กระทำกับรถเข็นขนาด 40 kg เทียบกับตำแหน่ง x ของรถเข็น ซึ่งเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบนแกน x ถ้าที่ x = 0 รถเข็นมีความเร็ว -3.0 m / s (ในทิศลบ) แล้วข้อใดคืออัตราเร็วสูงสุดของรถเข็น
![]() |
278. | ทรงกระบอกรัศมี a เดิมหนัก 80 N หลังเจาะรูให้ห่างจากเส้นผ่านศูนย์กลางไป 2a/5 จะมีน้ำหนัก 65 N จุดศูนย์กลางของทรงกระบอกและรูจะสูงเท่ากัน และเส้นผ่านศูนย์กลางจะขนานกัน ดังรูป
![]() |
279. | รถมวล m มีเครื่องยนต์ที่มีกำลังออกมาคงที่ P สมมุติมีแรงเสียดทานเฉพาะล้อกับพื้นเอียง (ไม่มีแรงเสียดทานที่ส่วนอื่นๆ) แล้วอัตราเร็วสูงสุดคงที่ vmax ที่รถคันนี้สามารถขับขึ้นพื้นเอียงทำมุม θ กับแนวนอนได้ เท่ากับข้อใด
![]() |
A | \(\rm v_{max} = P/(mg\, sinθ)\) |
B | \(\rm v_{max} = P^2 sinθ /mg\) |
C | \(\rm v_{max} = \sqrt{2P/mg}/ sinθ\) |
D | ไม่มีอัตราเร็วสูงสุดคงที่ |
E | อัตราเร็วสูงสุดคงที่ขึ้นกับความยาวของพื้นเอียง |
280. | รถกระป๋องมีความเร่งในแนวนอนด้วยความเร่ง \(\vec{a}\) ภายในมีกล่องมวล M ต่อกับสปริงสองเส้นที่มีค่านิจสปริง k1 และ k2 ถ้ากล่องสามารถขยับได้โดยไม่มีแรงเสียดทานในแนวนอน แล้วความถี่ในการสั่นของกล่องเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm \dfrac{1}{2\pi}\sqrt{\dfrac{k_1+k_2}{M}+a}\) |
B | \(\rm \dfrac{1}{2\pi}\sqrt{\dfrac{k_1k_2}{(k_1+k_2)M}}\) |
C | \(\rm \dfrac{1}{2\pi}\sqrt{\dfrac{k_1k_2}{(k_1+k_2)M}+a}\) |
D | \(\rm \dfrac{1}{2\pi}\sqrt{\dfrac{|k_1-k_2|}{M}}\) |
E | \(\rm \dfrac{1}{2\pi}\sqrt{\dfrac{|k_1+k_2|}{M}}\) |
281. | กำหนกกราฟ log / log จากแอมพลิจูดและคาบของการสั่นที่ไม่เป็นเชิงเส้น ดังรูป
![]() |
A | \(\rm T = 1000A^2\) |
B | \(\rm T = 100A^3\) |
C | \(\rm T = 2A+3\) |
D | \(\rm T = 3\sqrt A\) |
E | คาบเป็นอิสระกับแอมพลิจูดในระบบการสั่น |
282. | มวลแขวนอยู่บนเพดานภายในกล่องด้วยสปริงในอุดมคติ เดิมให้กล่องอยู่นิ่ง ส่วนมวลจะมีความเร็วเริ่มต้น และมีการสั่นเฉพาะในแนวตั้ง เมื่อมวลทิ้งตัวถึงจุดต่ำสุด กล่องจะถูกปล่อยให้ร่วงลงมา หากพิจารณาเฉพาะภายในกล่อง ปริมาณใดต่อไปนี้จะไม่เปลี่ยนแปลง ขณะกล่องร่วงลง โดยไม่สนแรงต้านอากาศ |
A | แอมพลิจูดของการสั่น |
B | คาบของการสั่น |
C | อัตราเร็วสูงสุดของมวล |
D | ความสูงขณะที่มวลมีอัตราเร็วสูงสุด |
E | ตำแหน่งที่สูงที่สุดของมวล |
283. | ใช้มอเตอร์ 1,500 วัตต์ สูบน้ำจากความสูงแนวตั้ง 2.0 เมตร จากชั้นใต้ดินที่มีน้ำท่วมอยู่ ผ่านท่อทรงกระบอก ถ้าน้ำไหลออกจากปากท่อด้วยอัตราเร็ว 2.5 m / s โดยไม่มีแรงเสียดทาน และสมมุติว่าพลังงานทั้งหมดของมอเตอร์ใช้ไปกับการสูบน้ำ แล้วรัศมีของท่อน้ำควรเท่ากับข้อใด ให้ความหนาแน่นของน้ำเป็น ρ = 1000 /m3 |
284. | ภาชนะบรรจุน้ำถูกวางบนเครื่องชั่ง อ่านน้ำหนักได้ M1 = 45 kg และบล็อกไม้ถูกแขวนบนเครื่องชั่งที่สอง อ่านน้ำหนักได้ M2 = 12 kg ถ้าไม้มีความหนาแน่น 0.60 g/cm3 และน้ำมีความหนาแน่น 1.00 g/cm3 เมื่อหย่อนบล็อกไม้ครึ่งหนึ่งลงไปในน้ำ แล้วน้ำหนักที่อ่านได้จากเครื่องชั่งจะเท่ากับข้อใด
![]() |
A | M1 = 45 kg และ M2 = 2 kg |
B | M1 = 45 kg และ M2 = 6 kg |
C | M1 = 45 kg และ M2 = 10 kg |
D | M1 = 55 kg และ M2 = 6 kg |
E | M1 = 55 kg และ M2 = 2 kg |
285. | กำหนดระบบสปริงหนึ่งประกอบด้วย แท่นหนัก 10 N อยู่ด้านบนของสปริงสองอัน ซึ่งมีค่านิจสปริง 75 N/m ทั้งสองอัน และด้านบนแท่นมีสปริงที่สามที่มีค่านิจสปริง 75 N/m ถ้าวางลูกบอลหนัก 5.0 N บนสปริงที่สามจนน้ำหนักค่อย ๆ กดสปริงทั้งระบบลง แล้วระยะที่ลูกบอลกดลงมาจะเท่ากับข้อใด
![]() |
286. | เสียงที่เบาที่สุดที่เราได้ยินจะมีความเข้มเสียง I0 = 10–12 W/m2 ถ้าเปลี่ยนเป็นหน่วยพื้นฐานกิโลกรัม, เมตร และวินาที จะมีค่าเท่ากับข้อใด |
A | I0= 10–12 kg/s3 |
B | I0= 10–12 kg/s |
C | I0= 10–12 kg2m/s |
D | I0= 10–12 kg2m/s2 |
E | I0= 10–12 kg/m·s3 |
287. | เครื่องมือวัดในข้อใด ไม่สามารถ วัดความเร่งโน้มถ่วง (g) ได้ |
A | เครื่องชั่งสปริง (อ่านค่าในหน่วยแรง) และวัตถุที่ทราบมวล |
B | คานที่ทราบความยาว, แต่ไม่ทราบมวล และนาฬิกาจับเวลา |
C | พื้นเอียงที่ทราบความชัน, รถจำลองหลายขนาดๆ ที่ทราบมวล และนาฬิกาจับเวลา |
D | ปืนที่ยิงแบบโพรเจกไทล์ที่ทราบอัตราเร็ว, กระสุนที่ทราบมวล และไม้บรรทัด |
E | มอเตอร์ที่ทราบกำลังที่ออกมา, วัตถุที่ทราบมวล, เส้นเชือกที่ทราบความยาว และนาฬิกาจับเวลา |
288. | วัตถุมวล m สามชิ้น นำมาติดกันด้วยสปริงแบบเดียวกัน เมื่อวางบนพื้นราบจะเห็นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้าน l เมื่อหมุนวัตถุรูปสามเหลี่ยมรอบ ๆ จุดศูนย์กลางด้วยความเร็วเชิงมุม ω วัตถุรูปสามเหลี่ยมจะมีความยาวด้านใหม่เป็น 2l แล้วค่านิจสปริง k เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm 2m\omega^2\) |
B | \(\rm \dfrac{2}{\sqrt3}m\omega^2\) |
C | \(\rm \dfrac{2}{3}m\omega^2\) |
D | \(\rm \dfrac{1}{\sqrt3}m\omega^2\) |
E | \(\rm \dfrac{1}{3}m\omega^2\) |
289. | พิจารณาสองวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ที่แสดงดังรูป วงโคจร P เป็นวงกลมมีรัศมี R วงโคจร Q เป็นวงรี มีจุดยอดไกลสุด b อยู่ระหว่าง 2R และ 3R และจุดยอดใกล้สุด a อยู่ระหว่าง R/3 และ R/2 ถ้าความเร็วในวงโคจร P เป็น vc ความเร็วในวงโคจร Q ที่จุด a เป็น va และที่จุด b เป็น vb แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
![]() |
A | vb > vc > 2va |
B | 2vc > vb > va |
C | 10vb > va > vc |
D | vc > va > 4vb |
E | 2va > \(\sqrt2\)vb > vc |
290. | ปั่นจักรยานด้วยอัตราเร็วคงที่ 22.0 km/hr และมีการหยุดพัก 20 นาที ถ้าอัตราเร็วเฉลี่ยของการปั่นจักรยานคือ 17.5 km/hr แล้วระยะทางที่ปั่นจักรยานไปได้เท่ากับข้อใด |
291. | กำหนดกราฟแสดงความเร็วต่อเวลาของวัตถุสามชิ้นที่เคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ ดังนี้
![]() |
292. | กำหนดกราฟแสดงความเร็วต่อเวลาของวัตถุสามชิ้นที่เคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ ดังนี้
![]() |
293. | กำหนดกราฟแสดงความเร็วต่อเวลาของวัตถุสามชิ้นที่เคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ ดังนี้
![]() |
294. | โลกที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยอัตราเร็วคงที่ จะมีระยะทางห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 150,000,000 กิโลเมตร ความเร่งของโลกในวงโคจรนี้ควรมีค่าเท่ากับข้อใด |
295. | เด็กสะดุดลื่นด้วยความเร็ว vc บนทะเลสาบน้ำแข็ง ไปชนกับเด็กอีกคนที่เดิมอยู่นิ่ง ซึ่งเขามีมวลเป็น 3 เท่าของเด็กคนแรก หลังการชนทั้งคู่ไถลไปด้วยกัน ความเร็วของคู่หลังการชนเท่ากับข้อใด |
296. | นักเล่นสเก็ตน้ำแข็งสามารถหมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วเชิงมุม ω0 ขณะยืดแขนออก และเมื่อดึงแขนกลับเข้ามาใกล้ตัวความเร็วเชิงมุมจะเปลี่ยนเป็น 2ω0 โดยไม่มีทอร์กภายนอกใด ๆ มากระทำ แล้วอัตราส่วนของพลังงานจลน์ของการหมุนสุดท้ายกับพลังงานจลน์ของการหมุนเริ่มต้น เท่ากับข้อใด |
297. | บล็อกไม้หนัก 30 N หากกดให้จมอยู่ในน้ำเต็มชิ้น จะมีแรงลอยตัวจากน้ำกระทำกับบล็อกไม้ 50 N เมื่อปล่อยให้ลอยอย่างอิสระ บล็อกไม้จะลอยขึ้นไปที่ผิวน้ำ แล้วส่วนที่ลอยพ้นน้ำเป็นเศษส่วนเท่าใดของบล็อกไม้ทั้งชิ้นขณะลอยตัวขึ้นไป |
298. | สปริงสมดุลยาว 2.0 เมตร มีค่านิจสปริง 10 นิวตัน/เมตร ให้ ก ดึงปลายด้านหนึ่งของสปริงด้วยแรง 3.0 นิวตัน ส่วน ข ดึงปลายอีกด้านด้วยแรง 3.0 นิวตัน ในทิศทางตรงกันข้าม ความยาวของสปริง ณ ปัจจุบันเท่ากับข้อใด |
299. | การกระทำในข้อใด ที่ทำให้คาบของลูกตุ้มอย่างง่าย มีค่าเพิ่มขึ้น |
A | ลดความยาวลูกตุ้ม |
B | เพิ่มมวลลูกตุ้ม |
C | เพิ่มแอมพลิจูดการแกว่งของลูกตุ้ม |
D | แกว่งลูกตุ้มในลิฟท์ที่กำลังเคลื่อนที่ขึ้น ด้วยความเร่ง |
E | แกว่งลูกตุ้มในลิฟท์ที่กำลังเคลื่อนที่ลง ด้วยอัตราเร็วคงที่ |
300. | แก้วโลหะทรงกระบอกขนาดใหญ่ ลอยอยู่ในอ่างสี่เหลี่ยมที่มีน้ำอยู่ครึ่งอ่าง หลังจากนั้นปล่อยน้ำจากก๊อกให้ไหลเข้ามาในแก้วด้วยอัตราคงที่ จนแก้วจมลงไปอยู่ใต้น้ำทั้งใบ กราฟในข้อใดแสดงระดับน้ำในอ่างกับเวลาได้ถูกต้องที่สุด |
301. | พิจารณาลูกบอลที่หนักมากๆ และคานเบา แบบเดียวกัน เมื่อนำลูกบอลสองลูกไปติดไว้ที่ปลายแต่ละด้าน จะเกิดปฏิสัมพันธ์แรงโน้มถ่วงซึ่งกันและกัน (ตามรูปด้านซ้าย) แรงบีบบนคานจะเท่ากับ F จากนั้นเพิ่มลูกบอลลูกที่สามให้เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม และมีคานเป็นด้านของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า (ตามรูปด้านขวา) แรงบีบบนคานแต่ละอัน ในกรณีหลังนี้จะเท่ากับข้อใด ![]() |
A | \(\rm \dfrac{1}{\sqrt3}F\) |
B | \(\rm \dfrac{\sqrt3}{2}F\) |
C | \(\rm F\) |
D | \(\rm\sqrt3F\) |
E | \(\rm 2 F\) |
302. | หลอดด้าย มีแกนทรงกระบอกหน้าตัดวงกลมรัศมี 1 cm มีวงกลมรัศมี 2 cm แปะหัวท้ายแกน ดังรูป เมื่อนำไปวางบนพื้นที่กลิ้งได้โดยไม่ไถล แล้วดึงด้ายที่พันรอบแกนขึ้นทำมุม θ = 90◦ กับแนวระดับ (ดึงขึ้นเท่านั้น) หลอดด้ายจะหมุนไปทางขวา แล้ว θ มากสุดที่ทำให้หลอดด้ายไม่หมุนไปทางขวา เมื่อดึงด้าย เท่ากับข้อใด
![]() |
A | θ = 15◦ |
B | θ = 30◦ |
C | θ = 45◦ |
D | θ = 60◦ |
E | ไม่ข้อใดถูก เพราะ หลอดด้ายจะกลิ้งไปทางขวาเสมอ |
303. | กำหนดเชือกที่ผูกลูกตุ้มไว้ที่ตำแหน่งต่างๆ ซึ่งแตกต่างกัน 5 เส้น เชือกทั้งหมดจะถูกห้อยลงมาจากเพดานไปจรดปลายพื้น หากปลดเชือกให้ตกลงสู่พื้น เชือกเส้นใดที่กระทบพื้นแล้วจะเกิดเสียงกระทบเป็นจังหวะแบบสม่ำเสมอ |
304. | มวลติดสปริงในแนวตั้งถูกดึงออกมา 20 cm จากสมดุล ถ้ามวล 100 g ผ่านจุดสมดุลด้วยอัตราเร็ว 0.75 m / s แล้วค่านิจสปริงเท่ากับข้อใด |
305. | โจ พยามใช้เชือกยกเพื่อนที่อยู่ในกล่องใบหนึ่ง ซึ่งแขวนอยู่ที่ด้านข้างของสะพาน ส่วนโจอยู่บนสะพาน ตัวเชือกมีตะขอเกี่ยวกับกล่อง และถูกพาดกับราวจับที่ถูกยึดไว้แน่น โจพยามยึดกล่องไว้โดยการกดเชือกกับราวด้วยหนังสือฟิสิกส์ที่เบาและไร้แรงเสียดทาน มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างเชือกกับราวเป็น μs และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ระหว่างเชือกกับราวเป็น μk < μs มวลของกล่องและเพื่อนรวมกันเป็น M และความสูงเริ่มต้น จากกล่องถึงพื้นคือ h และสมมุติว่าเชือกเบามาก
![]() |
306. | โจ พยามใช้เชือกยกเพื่อนที่อยู่ในกล่องใบหนึ่ง ซึ่งแขวนอยู่ที่ด้านข้างของสะพาน ส่วนโจอยู่บนสะพาน ตัวเชือกมีตะขอเกี่ยวกับกล่อง และถูกพาดกับราวจับที่ถูกยึดไว้แน่น โจพยามยึดกล่องไว้โดยการกดเชือกกับราวด้วยหนังสือฟิสิกส์ที่เบาและไร้แรงเสียดทาน มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างเชือกกับราวเป็น μs และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ระหว่างเชือกกับราวเป็น μk < μs มวลของกล่องและเพื่อนรวมกันเป็น M และความสูงเริ่มต้น จากกล่องถึงพื้นคือ h และสมมุติว่าเชือกเบามาก
![]() |
A | \(\rm \sqrt{2gh}(\mu_k/\mu_s)\) |
B | \(\rm \sqrt{2gh}(1-\mu_k/\mu_s)\) |
C | \(\rm \sqrt{2gh}\sqrt{\mu_k/\mu_s}\) |
D | \(\rm \sqrt{2gh}\sqrt{1-\mu_k/\mu_s}\) |
E | \(\rm \sqrt{2gh}(\mu_s-\mu_k)\) |
307. | บล็อกมวล m = 3.0 kg เลื่อนจากพื้นเอียงแรกไปถึงพื้นเอียงที่สอง มีค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ของบล็อกกับแต่ละพื้นเอียงเท่ากับ μk = 0.40 ถ้าบล็อกเริ่มเลื่อนลงมาจากความสูง h1 = 1.0 m จากพื้นดิน และพื้นเอียงทั้งสองเอียง 30◦ กับแนวระดับ ความสูงที่จากพื้นดิน ที่บล็อกหยุดอยู่ที่พื้นเอียงที่สองเท่ากับข้อใด |
308. | วัตถุมวล 2.00 kg เคลื่อนที่ด้วยแรงที่กำหนดจาก
\(\rm \vec F= – (8.00 N / m) (x\hat i + y\hat j )\)
โดย \(\rm \hat i\) และ \(\rm \hat j\) เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในแกน x และ y และเริ่มปล่อยวัตถุด้วยความเร็วต้น \(\rm \vec v= (3.00 m / s)\hat i + (4.00 m / s) \hat j\)แล้วต้องใช้เวลาเท่าไรวัตถุจึงจะกลับมาที่จุดเริ่มต้น |
309. | วัตถุมวล 2.00 kg เคลื่อนที่ด้วยแรงที่กำหนดจาก
\(\rm \vec F= – (8.00 N / m) (x\hat i + y\hat j )\)
โดย \(\rm \hat i\) และ \(\rm \hat j\) เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในแกน x และ y และเริ่มปล่อยวัตถุด้วยความเร็วต้น \(\rm \vec v= (3.00 m / s)\hat i + (4.00 m / s) \hat j\)แล้วระยะไกลสุด จากจุดเริ่มต้นถึงวัตถุเท่ากับข้อใด |
310. | วิศวกรกำหนดปริมาตร Vm ของโลหะที่ใช้สร้างถังความดันทรงกลมให้คงที่ค่าหนึ่ง โดยสมมุติว่า ผนังของถังบางมาก และมีแรงดันสูงจนเข้าใกล้จุดระเบิด ถ้าปริมาณแก็สที่บรรจุได้เท่ากับ n (หน่วยโมล) ซึ่งไม่ขึ้นกับรัศมี r ของถัง แต่ขึ้นอยู่กับ Vm (หน่วย m3), อุณหภูมิ T (หน่วย K), ค่าคงที่แก๊สในอุดมคติ R (หน่วย J / (K · mol)) และความทนแรงดึงของโลหะ σ (หน่วย N / m2) ค่า n ในเทอมของตัวแปรดังกล่าวเท่ากับข้อใด |
A | \(\rm n=\dfrac{2}{3}\dfrac{V_mσ}{RT}\) |
B | \(\rm n=\dfrac{2}{3}\dfrac{\sqrt[3]{V_mσ}}{RT}\) |
C | \(\rm n=\dfrac{2}{3}\dfrac{\sqrt[3]{V_mσ^2}}{RT}\) |
D | \(\rm n=\dfrac{2}{3}\dfrac{\sqrt[3]{V_m^2σ}}{RT}\) |
E | \(\rm n=\dfrac{2}{3}\sqrt[3]{\dfrac{V_mσ^2}{RT}}\) |
311. | กำหนด กราฟของทอร์กที่ออกมาจากเครื่องยนต์เบนซินกับฟังก์ชันความถี่ของการหมุน เครื่องยนต์ไม่สามารถทำงานนอกช่วงของกราฟได้
![]() |
312. | วัตถุถูกยิงจากพื้นของดาวทรงกลมสม่ำเสมอที่อยู่นิ่ง ด้วยมุมหนึ่งเทียบกับแนวตั้ง ถ้าวัตถุเคลื่อนที่โดยไม่สนแรงต้านอากาศ และตกกลับในที่สุด โดยนักบินอวกาศชายอธิบายว่าวัตถุจะเคลื่อนที่แบบพาราโบลา ตามกฎการเคลื่อนแบบโพรเจกไทล์ ส่วนนักบินอวกาศหญิงจำกฎของเคปเลอร์ได้ว่า ทุกวงโคจรที่อยู่รอบดาวจะเป็นวงรี (หรือวงกลม) และแรงโน้มถ่วงของทรงกลมสม่ำเสมอจะมีค่าเสมือนกับว่ามวลทั้งหมดรวมกันเป็นจุดมวลที่ศูนย์กลางจุดเดียว แล้วข้อใดอธิบายความแตกต่างของคำอธิบายทั้งสองได้ดีที่สุด |
A | เนื่องจากการทดลองเกิดใกล้กับผิวของทรงกลม จึงไม่ควรแทนทรงกลมด้วยจุดมวล |
B | เนื่องจากวัตถุตกกลับมา แสดงว่าวัตถุไม่ได้อยู่ในวงโคจรของดาวนั้น ดังนั้นเส้นทางการเคลื่อนที่อาจจะไม่ใช่วงรี |
C | นักบินอวกาศหญิง มองข้ามเรื่องการเคลื่อนที่รอบจุดมวล ที่อาจจะเป็นพาราโบลาหรือไฮเพอร์โบลาก็ได้ |
D | กฎของเคปเลอร์ ใช้กับวงโคจรที่มีขนาดใหญ่เท่านั้น |
E | วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงรี แต่เกือบจะเป็นพาราโบลา เพราะระยะที่ยิงขึ้นไปสั้นมาก เมื่อเทียบกับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของดาวเคราะห์ |
313. | เครื่องเล่นแผ่นเสียง มีวงแหวนเทฟลอน ที่มีรัศมีวงใน R และรัศมีวงนอก R + δ ( δ << R) ดังรูป และการหมุนแผ่นเสียงด้วยอัตราคง จะต้องใส่พลังงานให้มากกว่างานจากแรงเสียดทาน ถ้าผู้ผลิตเครื่องเล่นต้องการลดการใช้พลังงาน โดยไม่เปลี่ยนอัตราการหมุน น้ำหนักของเครื่องเล่นหรือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานของผิวเทฟลอน วิศวกรจึงเสนอสองทางเลือก คือ การเพิ่มความกว้างของแบริ่ง ( เพิ่ม δ ) หรือเพิ่มรัศมี (เพิ่ม R) ข้อใดสรุปผลที่จะตามมาได้ถูกต้อง
![]() |
A | การเพิ่ม δ ไม่มีผลต่อกำลังการทำงาน แต่การเพิ่ม R ทำให้กำลังการทำงานเพิ่มขึ้น |
B | การเพิ่ม δ ไม่มีผลต่อกำลังการทำงาน แต่การเพิ่ม R ทำให้กำลังการทำงานลดลง |
C | การเพิ่ม δ ทำให้กำลังการทำงานเพิ่มขึ้น แต่การเพิ่ม R ไม่มีผลต่อกำลังการทำงาน |
D | การเพิ่ม δ ทำให้กำลังการทำงานลดลง แต่การเพิ่ม R ไม่มีผลต่อกำลังการทำงาน |
E | การเปลี่ยนแปลงทั้งสองไม่มีผลใดๆ ต่อกำลังการทำงาน |
314. | ให้ทรงกระบอกกลวงที่มีผนังบางมาก (เช่น แกนกระดาษชำระ) กับบล็อกอันหนึ่ง วางนิ่งอยู่บนระนาบที่มีความชัน θ กับแนวระดับ ถ้าทรงกระบอกกลิ้งลงมาโดยไม่ไถล และบล็อกก็เลื่อนลงมาจากระนาบ มาถึงด้านล่างระนาบพร้อมกัน แล้วค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ ระหว่างบล็อกกับระนาบเท่ากับข้อใด |
A | \(0\) |
B | \(\dfrac{1}{3}\tan\theta\) |
C | \(\dfrac{1}{2}\tan\theta\) |
D | \(\dfrac{2}{3}\tan\theta\) |
E | \(\tan\theta\) |
315. | กำหนดกราฟแสดงการเคลื่อนที่ของกระรอกที่วิ่งไปตามสายโทรศัพท์เส้นหนึ่ง และตัวอักษร A ถึง E ใช้อ้างอิงเวลาต่างๆ ดังรูป
![]() |
A | จาก A ถึง B |
B | จาก B ถึง C เท่านั้น |
C | จาก B ถึง D |
D | จาก C ถึง D เท่านั้น |
E | จาก D ถึง E |
316. | กำหนดกราฟแสดงการเคลื่อนที่ของกระรอกที่วิ่งไปตามสายโทรศัพท์เส้นหนึ่ง และตัวอักษร A ถึง E ใช้อ้างอิงเวลาต่างๆ ดังรูป
![]() |
317. | กำหนดกราฟแสดงการเคลื่อนที่ของกระรอกที่วิ่งไปตามสายโทรศัพท์เส้นหนึ่ง และตัวอักษร A ถึง E ใช้อ้างอิงเวลาต่างๆ ดังรูป
![]() |
318. | คนขนของสองทีม ช่วยกันย้ายเปียโนลงมาจากหน้าต่างชั้น 10 ของอพาร์ตเมนต์แห่งหนึ่ง ถ้าเชือกขาดขณะเปียโนอยู่สูงจากพื้นดิน 30 เมตร และทีมขนของบนพื้นดินได้เสียงตะโกนจากทีมด้านบนครั้งแรก ขณะเปียโนอยู่สูงจากพื้นดิน 14 เมตร แล้วพวกเขามีเวลาหนีก่อนเปียโนจะตกใส่เท่าใด |
319. | ให้การเคลื่อนที่แบบโพลเจกไทล์ทั้งสองแบบ ถูกยิงจากความสูง 35 เมตร ดังรูป ถ้าแบบแรกถูกยิงด้วยมุมเงย 37° แบบที่สองถูกยิงด้วยมุมก้ม 37° และทั้งสองมีอัตราเร็วต้น v0 = 50 m/s
![]() |
320. | กระสุนปืนถูกยิงทำมุม θ กับแนวนอน และเคลื่อนที่โดยไม่มีแรงต้านอากาศ จะขึ้นไปได้สูงสุด H และระยะตกกลับอยู่ไกลออกไป R แล้วอัตราส่วน H / R เท่ากับข้อใด |
A | \(\tan \theta\) |
B | \(2\tan \theta\) |
C | \(\dfrac{2}{\tan \theta}\) |
D | \(\dfrac{1}{2}\tan \theta\) |
E | \(\dfrac{1}{4}\tan \theta\) |
321. | แฮร์รี่ นั่งอยู่บนม้าหมุนที่ห่างจากจุดศูนย์กลางไป 2 เมตร มัลฟอย เสกให้แฮร์รี่นั่งอยู่กับที่แล้วเดินเครื่องม้าหมุน ให้เริ่มหมุนรอบแกน ถ้าแฮร์รี่มีมวล 50.0 kg และทนต่อความเร่งได้ 5.0 g’s ก่อนสลบไป แล้วโมเมนตัมเชิงมุมของแฮร์รี่ขณะสลบไปเท่ากับข้อใด |
322. | รถพยายามใช้ความเร่งปีนขึ้นเนินที่ทำมุม θ กับแนวนอน สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตระหว่างยางล้อกับเนินเท่ากับ μ > tan θ แล้วความเร่งสูงสุด (ในทิศขึ้นไปตามเนิน) เท่ากับข้อใด ไม่คิดความเฉื่อยในการหมุนของล้อ |
323. | ลูกตุ้มมวล M แขวนบนเพดานของรถด้วยเชือกเบายาว L จากรถที่เดิมอยู่นิ่ง เมื่อเร่งรถออกไป ลูกตุ้มจะแกว่งทำมุม θ กับแนวตั้ง ข้อใดคือความเร่งของรถในเทอมของ θ, M, L และ g
![]() |
324. | ให้มวล m1 อยู่บนมวล m2 โดยมวลก้อนล่างวางอยู่บนพื้นราบ และมีเชือกที่ใช้ลากไปตามแนวนอนได้ และมีสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานของการเคลื่อนที่ในทุกพื้นผิวเท่ากับ μ ถ้ามีแรง F มากระทำกับเชือก แล้วความเร่งของมวลก้อนล่างเท่ากับข้อใด ให้สมมุติว่า F มีขนาดใหญ่พอที่ทำให้มวลก้อนบนไถลบนก้อนล่าง
![]() |
A | a2 = (F – μg (2 m1 + m2)) / m2 |
B | a2 = (F – μg (m1 + m2)) / m2 |
C | a2 = (F – μg (m1 + 2 m2)) / m2 |
D | a2 = (F + μg (m1 + m2)) / m2 |
E | a2 = (F – μg (m2 – m1)) / m2 |
325. | วัตถุสามชิ้นที่มีมวลเท่ากันถูกแขวนไว้บนรอกเล็กๆ ด้วยเชือกเบา ดังรูป ถ้าไม่คำนึงถึงแรงเสียดทาน และสมมุติว่าระบบอยู่ในภาวะสมดุล แล้วอัตราส่วนของ a / b เท่ากับข้อใด ( สเกลของรูปประกอบไม่ใช่ขนาดจริง )
![]() |
326. | ลูกบอลมวล m กลิ้งจนหล่นจากขอบโต๊ะด้วยพลังงานจลน์เริ่มต้น K ที่เวลา t หลังจากลูกบอลหล่นจากขอบโต๊ะจะมีพลังงานจลน์ 3K แล้ว t มีค่าเท่ากับข้อใด ไม่ต้องคำนึงถึงแรงต้านอากาศ |
A | \(\rm (3/g)\sqrt{K/m}\) |
B | \(\rm (2/g)\sqrt{K/m}\) |
C | \(\rm (1/g)\sqrt{8K/m}\) |
D | \(\rm (K/g)\sqrt{6/m}\) |
E | \(\rm (2K/g)\sqrt{1/m}\) |
327. | ลูกบอลมวล M รัศมี R มีโมเมนต์ความเฉื่อย I = \(\frac{2}{5}\)MR2 ให้เดิมอยู่นิ่งแล้วกลิ้งลงมาจากพื้นเอียง โดยไม่สูญเสียพลังงานจากการเสียดสี จากนั้นกลิ้งไปตามแนวราบจนกระทั่งหลุดออกจากพื้นเอียงไปและพุ่งขึ้นไปในแนวตั้ง ดังรูป แล้วความสูงสูงสุด ymax ของลูกบอลเท่ากับข้อใด ให้ความสูงสูงสุดที่หลุดออกจากปลายพื้นเอียง ymax แสดงในเทอมของ h
![]() |
A | \(\rm h\) |
B | \(\rm \dfrac{25}{49}h\) |
C | \(\rm \dfrac{2}{5}h\) |
D | \(\rm \dfrac{5}{7}h\) |
E | \(\rm \dfrac{7}{5}h\) |
328. | วัตถุ 5.0 kg มีอัตราเร็ว 8.0 m / s ไปตามพื้นราบ 2.0 m จนกระทั่งพุ่งชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์กับวัตถุ 15.0 kg ที่เดิมอยู่นิ่ง ถ้าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ระหว่างวัตถุทั้งสองกับพื้นเท่ากับ 0.35 แล้ววัตถุ 15.0 kg จะเคลื่อนที่ไปได้ไกลเท่าใด |
329. | ![]() ถ้าบล็อกมวล m มีอัตราเร็วต้น v0 พุ่งขึ้นพื้นเอียงมวล M ไปโดยไม่มีแรงเสียดทาน แล้วขึ้นไปสูง h ตามพื้นเอียง จากนั้นไหลกลับลงมา จงหาความสูง h |
A | \(\rm h=\dfrac{v^2_0}{2g}\) |
B | \(\rm h=\dfrac{1}{g}\dfrac{Mv^2_0}{m+M}\) |
C | \(\rm h=\dfrac{1}{2g}\dfrac{Mv^2_0}{m+M}\) |
D | \(\rm h=\dfrac{1}{2g}\dfrac{mv^2_0}{m+M}\) |
E | \(\rm h=\dfrac{v^2_0}{g}\) |
330. | ![]() ถ้าบล็อกมวล m มีอัตราเร็วต้น v0 พุ่งขึ้นพื้นเอียงมวล M ไปโดยไม่มีแรงเสียดทาน แล้วขึ้นไปสูง h ตามพื้นเอียง จากนั้นไหลกลับลงมา จงหาอัตราเร็ว v ของมวล m หลังลื่นกลับออกมาจากทางลาด |
A | \(\rm v=v_0\) |
B | \(\rm v= \dfrac{m}{m+M}v_0\) |
C | \(\rm v= \dfrac{M}{m+M}v_0\) |
D | \(\rm v= \dfrac{M-m}{m}v_0\) |
E | \(\rm v= \dfrac{M-m}{m+M}v_0\) |
331. | ถ้ามวล m สี่อัน ถูกวางไว้ที่จุดยอดของทรงสี่หน้าที่มีความยาวด้าน a แล้วพลังงานศักย์โน้มถ่วงของการจัดวางนี้เท่ากับข้อใด |
A | \(\rm -2\dfrac{Gm^2}{a}\) |
B | \(\rm -3\dfrac{Gm^2}{a}\) |
C | \(\rm -4\dfrac{Gm^2}{a}\) |
D | \(\rm -6\dfrac{Gm^2}{a}\) |
E | \(\rm -12\dfrac{Gm^2}{a}\) |
332. | ใช้กราฟของพลังงานศักย์ต่อไปนี้ ในการตอบคำถาม
![]() |
333. | ใช้กราฟของพลังงานศักย์ต่อไปนี้ ในการตอบคำถาม
![]() ![]() |
334. | ใช้กราฟของพลังงานศักย์ต่อไปนี้ ในการตอบคำถาม
![]() ![]() |
335. | พลังงานศักย์โน้มถ่วงของลูกบอลตันที่มีความหนาแน่น ρ รัศมี R เท่ากับ E แล้วพลังงานศักย์โน้มถ่วงของลูกบอลตันที่มีความหนาแน่น ρ รัศมี 2R เท่ากับข้อใด |
336. | ลูกโป่งบรรจุแก๊สฮีเลียมถูกผูกติดกับพื้นรถด้วยเชือกเส้นหนึ่ง เนื่องจากรถถูกปิดแน่นหนาจึงไม่มีอากาศจากภายนอกมากระทำกับลูกโป่ง ถ้ารถวิ่งเป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ แล้วข้อใด คือทิศทางของลูกโป่งที่ถูกผูกเอาไว้
![]() |
337. | กำหนดท่อรูปตัว U สองอัน ให้ท่อด้านซ้าย มีพื้นที่หน้าตัด A มีอัตราเร็วของน้ำที่ไหลผ่าน v ส่วนท่อด้านขวามีพื้นที่หน้าตัด A´ = A/2 ถ้าแรงลัพธ์ที่ท่อสัมผัสกันเป็นศูนย์ แล้วอัตราเร็ว v´ ของน้ำที่ไหลผ่านท่อทางด้านขวาเท่ากับข้อใด โดยไม่ต้องสนใจแรงโน้มถ่วง และสมมุติว่า อัตราเร็วของน้ำ ขาเข้า-ขาออก ในแต่ละท่อมีค่าเท่ากัน
![]() |
338. | (เกินหลักสูตรการสอบเข้า สอวน.) แผ่นวงกลมสม่ำเสมอ รัศมี R เดิมมีมวล M แกนหมุนที่จุดศูนย์กลาง ซึ่งตั้งฉากกับแผ่นวงกลมมีโมเมนต์ความเฉื่อย I0 = \(\frac{1}{2}\) MR2 ถ้าเจาะรูบนแผ่นวงกลม ดังรูป แล้วโมเมนต์ความเฉื่อยใหม่ที่แกนหมุนจะเท่ากับข้อใด ให้แสดงในเทอมของรัศมี R มวล M ของแผ่นวงกลมเดิม
![]() |
339. | ยานอวกาศ (ซึ่งมีมวลน้อยมาก) อยู่ในวงโคจรวงรีของดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ระยะใกล้สุดระหว่างยานอวกาศกับดาวเคราะห์เท่ากับ R และระยะไกลสุดเท่ากับ 2R ถ้าที่ระยะไกลสุดยานอวกาศเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v0 จากนั้นเดินเครื่องเข้าสู่วงโคจรวงกลมที่มีรัศมี 2R อัตราเร็วใหม่ที่ได้จะเท่ากับข้อใด
![]() |
A | \(\rm \sqrt{3/2}v_0\) |
B | \(\rm \sqrt{5}v_0\) |
C | \(\rm \sqrt{3/5}v_0\) |
D | \(\rm \sqrt2 v_0\) |
E | \(\rm 2v_0\) |
340. | เลนส์เว้าความยาวโฟกัสขนาด 20 cm วางชิดกันกับกระจกราบ ลำแสงขนานตกกระทบจากทางซ้าย จะให้ภาพสุดท้ายอยู่ที่ใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 12 ส.ค. 2547) ![]() |
341. | มองวัตถุ O ผ่านแผ่นแก้วดรรชนีหักเห µ หนา t ในแนว θ องศากับเส้นตั้งฉากผิวแก้วเห็นภาพ I อยู่ที่ผิวล่างของแผ่นแก้วพอดีวัตถุอยู่ใต้ผิ้วแก้วเป็นระยะทางเท่าไร (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 8 ก.ย. 2545) ![]() |
342. | จงหาค่าของมุม ϕ ที่แนวแสงออกทำกับแนวแสงเข้า (ในเรื่องรุ้งปฐมภูมิ) ตอบติดสัญลักษณ์ θ และดรรชนีหักเห μ ของน้ำ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 28 ส.ค. 2554) ![]() |
343. | พิจารณาทรงกลมโปร่งใสรัศมี R ลูกหนึ่ง เมื่อฉายลำรังสีขนานใกล้แกน (ขนานกับเส้นผ่านศูนย์กลางทรงกลมเส้นหนึ่ง และอยู่ใกล้กับเส้นผ่านศูนย์กลางนั้นมาก ๆ ปรากฎว่าแสงถูกโฟกัสไปผ่านที่จุด P ซึ่งเป็นจุดบนผิวทรงกลมที่ฝั่งตรงข้ามกับที่แสงเข้าพอดี จงหาว่าวัสดุที่ใช้ทำทรงกลมนี้มีดรรชนีหักเหของแสงเท่าใด กำหนดว่าสำหรับมุม θ เล็ก ๆ ในหน่วยเรีเดียน sinθ ≈ θ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 2 ก.ย. 2550) ![]() |
344. | เลนส์นูนความยาวโฟกัสขนาด 12 cm และเลนส์เว้าความยาวโฟกัสขนาด 10 cm วางอยู่บนแกนเดียวกัน โดยที่เลนส์นูนอยู่ทางซ้ายมือของเลนส์เว้าและอยู่ห่างกัน 10 cm วางวัตถุไว้ทางซ้ายมือของเลนส์นูนที่ระยะห่าง 48 cm จงหาตำแหน่ง กำลังขยาย ลักษณะภาพ (หัวตั้งหรือหัวกลับ จริงหรือเสมือน) ของภาพสุดท้ายของวัตถุสว่างนี้ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 2 ก.ย. 2550) |
345. | f1 , f2 เป็นขนาดของความยาวโฟกัสของเลนส์นูนเเละเลนส์เว้าตามลำดับ จะต้องวางเลนส์เว้าห่างจากเลนส์นูนเป็นระยะเท่าไหร่ (จึงจะทำให้ลำแสงออกขนานด้วย) ลำแสงออกมีความเข้มของแสงเป็นกี่เท่าของลำแสงเข้า (ก่อนเข้าเลนส์นูน, ไม่คำนึงถึงการดูดกลืนแสงในเนื้อสารของเลนส์) ต่อไปยกเลิกเงื่อนไขที่ว่าลำแสงออกเป็นลำขนาน, เลื่อนเลนส์เว้ามาประกบชิดเลนส์นูน แสงจะตัดกันบนแกนมุขสำคัญที่จุดห่างจากเลนส์คู่เป็นระยะทางเท่าไร และบอกด้วยว่าตัดทางด้านซ้ายหรือขวาของเลนส์คู่ (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 1 ก.ย. 2556) ![]() |
346. | ปริซึมทำด้วยวัสดุโปร่งใสทีมค่าดรรชนีหักเห n = \(\sqrt3\) จงหาค่าของ θ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 28 ส.ค. 2554) ![]() |
347. | เมื่อวางวัตถุที่ระยะห่าง a จากเลนส์ (รูป ก.) จะได้ภาพขนาดเป็นสองเท่าของเมื่อวางวัตถุเดียวกันที่ระยะห่าง b (รูป ข.) เลนส์มีความยาวโฟกัสเป็นเท่าใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555) ![]() |
348. | กำหนดว่าปริซึมทำด้วยแก้วดรรชนีหักเห n มุม θ จะต้องมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่าใด ลำแสงจึงจะไม่ทะลุด้าน AC ออกไป สำหรับค่า θ เล็กที่สุดนี้แนวแสงที่ทะลุด้าน BC ออกมาทำมุมเท่าใดกับแนว \(\rm\overline{PQ}\) (นั้นคือหามุม ϕ ในรูป ϕ = 90° + ฟังก์ชันของ n) (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555) ![]() |
349. | จัดกระจกเว้าความยาวโฟคัส + f ให้ห่างจากวัตถุเหมาะ ๆ เพื่อให้ได้ภาพเสมือนหลังกระจกเป็นระยะทาง 17 cm พอดี จะได้กำลังขยายเท่าไร (ตอบติดตัว f ไว้) (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2557) ![]() |
350. | จากรูป ถ้าลดระยะวัตถุลงนิดหน่อย (δu เป็นลบ) ระยะภาพจะเพิ่มขึ้นนิดหน่อย (δ เป็นบวก) จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง u กับ v เท่านั้นที่จะทำให้ −δu = 4δv (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 6 ก.ย. 2546) ![]() |
351. | ปริซึมรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วมีมุมยอดเป็น α มีลำแสงหักเหผ่านอย่างสมมาตรดังรูป จงหาค่าดรรชนีหักเหของแก้ว ปริซึมในรูปของมุม α, β (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 6 ก.ย. 2546) ![]() |
352. | ABCD เป็นแท่งแก้วสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว L กว้าง 1 มิลลิเมตร ดรรชนี 1.5 ถ้าให้แสงตกกระทบด้าน AB ที่ตำแหน่งกึ่งกลางพอดีด้วยมุมตกกระทบ θ = arcsin(3/4) พบว่ามีการสะท้อนที่ด้าน AD 3 ครั้งเเละที่ด้าน BC 2 ครั้งแล้วแสงหักเหไปทางด้าน CD ที่ตำแหน่งกึ่งกลางด้านพอดี จงหาระยะทางในแก้วที่แสงเดินทางจากด้าน AB ไปถึงด้าน CD (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 6 ก.ย. 2546) ![]() |
353. | P เป็นจุดกึ่งกลางกระจกเว้า O เป็นจุดศูนย์กลางความโค้ง ถ้าหมุนกระจกไปเป็นมุม θ รอบจุด P แสงสะท้อนจะเบนจากแนวเดิมไปเป็นมุมเท่าใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 12 ก.ย. 2547) ![]() |
354. | ![]() 1. จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่าง θ2, θ3 เเละมุมยอด α
2. จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่าง θ1 , θ4 , δ และ α
3. หากคำนวณถูกต้อง จะได้ δ = θ1 − α + sin−1 (X) โดยที่ sin−1 (X) คือ มุมที่ทำให้ค่า sin ของมุมนั้นเท่ากับ X
(ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 28 ส.ค. 2548)จงหาค่าของ X ในรูปของ n , α และ θ1 |
355. | หลอดไฟเล็กสว่างสองดวงอยู่ห่างกันเป็นระยะ s และทั้งคู่อยู่ห่าง 1.0 m จากฉาก เมื่อเอาเลนส์หนึ่งวงที่ตำแหน่งหนึ่งระหว่างหลอดไฟทั้งสองเเละฉาก ปรากฏว่าเกิดภาพของหลอดไฟคมชัดบนฉากอยู่ห่างกัน 40 mm เมื่อเลนส์ไปมาระหว่างหลอดไฟและฉาก ปรากฏว่าเกิดภาพชัดบนฉากอีกครั้งเมื่อเลนส์อยู่อีกตำเเหน่งหนึ่งที่ตำแหน่ง นี้ภาพหลอดไฟสว่างบนฉากอยู่ห่างกัน 2.5 mm
1. ระยะ s มีค่าเท่าใด
2. เลนส์มีความยาวโฟกัสเท่าใด
(ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 28 ส.ค. 2548) |
356. | ต้องวางเลนส์นูน (L2) ห่างจากเลนส์เว้า (L1) เท่าไร ภาพของวัตถุ O จึงจะเกิดที่อนันต์ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 8 ก.ย. 2545) ![]() |
357. | ![]() ด้านราบเข้าไป จะเกิดภาพสุดท้ายที่ระยะห่างจากเลนส์ไปทางซ้ายเท่าใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 3 ก.ย. 2549) คำแนะนำ สูตรของช่างทำเลนส์บางคือ \(\rm\dfrac{1}{f}=(\mu-1)\left(\dfrac{1}{R_1}+\dfrac{1}{R_2}\right)\)
โดย μ เป็นค่าดรรชนีหักเหของแก้ว และ R1, R2 เป็นรัศมีความโค้ง |
358. | รังสีแสงลำหนึ่งตกกระทบกระจกเงาราบบานหนึ่งและสะท้อนไปตกบนฉากซึ่งวางตั้งฉากกับรังสีสะท้อน และอยู่ห่างจากจุดที่แสงตกกระทบกระจกเป็นระยะ 5.00 m เมื่อเบนกระจกไปจากแนวเดิมเป็นมุม α เล็ก ๆ ปรากฏว่าจุดบนฉากเลื่อนไปเป็นระยะ 0.175 m จงหาว่ามุม α มีค่าเท่าใดในหน่วยองศา กำหนดว่าถ้ามุม θ มีค่าน้อย ๆ tan θ ≈ θ ในหน่วยเรเดียน และ π เรเดียน = 180 องศา (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2551) |
359. | แสงในตัวกลาง A ซึ่งมีค่าดรรชนีหักเห 1.50 มีความยาวคลื่นเป็น 500 นาโนเมตร เมื่อเดินทางในตัวกลาง B มีความยาวคลื่นเป็น 450 นาโนเมตร จงหาค่าดรรชนีหักเหของตัวกลาง B |
360. | ต้องวางวัตถุที่ตำแหน่งใดหน้ากระจกเว้าจึงจะทำให้ไม่เกิดภาพ |
361. | ชายคนหนึ่งมองวัตถุในน้ำตามแนวดิ่ง เห็นภาพของวัตถุสูงจากตำแหน่งของวัตถุ 10 เซนติเมตร ตำแหน่งภาพที่เขามองเห็นอยู่ห่างจากผิวน้ำกี่เซนติเมตร กำหนดให้ดัชนีหักเหของน้ำเท่ากับ \(\frac{4}{3}\) และดัชนีหักเหของอากาศเท่ากับ 1 |
362. | รังสีขนานตกกระทบกระจกเงาราบสองแผ่นซึ่งทำมุม θ ต่อกัน ถ้ารังสีสะท้อนทำมุม 30∘ และ 40∘ กับแนวรังสีเดิมดังรูป มุม θ เป็นเท่าใด
![]() |
363. | หากแสงมีมุมตกกระทบในอากาศเท่ากับ 60∘ จะเกิดมุมหักเหในของเหลวชนิด a เท่ากับ 30∘ หากเปลี่ยนตัวกลางเป็นของเหลวชนิด b แล้วให้มุมตกกระทบในอากาศเป็น 45∘ พบว่าได้มุมหักเหเท่าเดิมกับของเหลวชนิด a จงหาว่าค่าดัชนีหักเหในของเหลวชนิด b มีค่าเป็นกี่เท่าของค่าดัชนีหักเหในของเหลวชนิด a |
364. | เลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 30 cm วางบนแท่งพลาสติกรูปสี่เหลี่ยมที่มีดัชนีหักเหเท่ากับ 1.5 จุดตัดใหม่ของแสงจะอยู่ลึกจากผิวแท่งเป็นระยะเท่าไร (แสงที่ส่องไปนั้นเป็นแสงในแนวตั้งฉากกับผิวแท่งพลาสติก)
![]() |
365. | มุมวิกฤตต่อแสงในของเหลวชนิดหนึ่งมีค่าเท่ากับ 60∘ ความยาวคลื่นของแสงนั้นในของเหลวจะเป็นกี่เท่าของความยาวคลื่นในอากาศ |
366. | ฉายแสงสีเขียวความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ให้ตกกระทบตั้งฉากกับด้านหนึ่งของปริซึมสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งวางอยู่ในอากาศ ดังรูป ถ้าลำแสงที่ออกจากปริซึมเบนออกไปจากแนวเดิม 30 องศา จงหาดรรชนีหักเหของปริซึมนี
![]() |
367. | ริ้วแสงสีต่างๆ ที่เห็นบนฟองสบู่เกิดจากปรากฏการณ์ใดเป็นส่วนสำคัญ |
368. | ในการส่งพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยใช้แสงเป็นคลื่นพาหะไปตามเส้นใยนำแสง ควรมีเงื่อนไขของมุม θ อย่างไร
![]() |
369. | เลนส์เว้าความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร 2 อัน และเลนส์นูนความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร หนึ่งอันวางรับแสงอาทิตย์ดังรูป ถ้าลำแสงสุดท้ายหลังจากผ่านเลนส์ทั้งสามเป็นลำแสงขนาน a จะมีค่าเท่าใด
![]() |
370. | วัตถุอยู่ห่างจากเลนส์เว้า (ความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร) เป็นระยะทาง 10 เซนติเมตรทางซ้ายมือ และมีกระจกเวา้ (ความยาวโฟกัสเซนติเมตร) อยู่ห่างจากเลนส์เว้า 15 เซนติเมตรทางด้านขวามือแล้วภาพจะอยู่ที่เดียวกับวัตถุ ความยาวโฟกัสของเลนส์เว้ามีค่าเท่าไร
![]() |
371. | ในปรากฏการณ์กระจายของแสง เมื่อแสงขาวจากดวงอาทิตย์ผ่านปริซึม แสงสีใดจะมีมุมหักเหน้อยที่สุด |
372. | แว่นขยายอันหนึ่งมีความยาวโฟกัส 4 เซนติเมตร ถ้าต้องการให้แว่นขยายส่องตัวอักษรในหนังสือใหเ้ห็นภาพชัดที่สุดต้องวางหนังสือห่างจากแว่นขยายเท่าไร |
373. | ดอกไม้ดอกหนึ่งส่องด้วยแสงสีขาว เมื่อมองผ่านแผ่นกรองแสงสีแดงจะเห็นดอกไม้เป็นสีแดง ถ้ามองผ่านแผ่นกรองแสงสีเขียวจะเห็น เป็นสีเขียวถ้ามองผ่านแผ่นกรองแสงสี เหลืองจะเห็นเป็นสีเหลืองดอกไม้ดอกนี้มีสีอะไร |
374. | หลังจากสับสวิทช์ SW ลงนานแล้ว ความต่างศักย์ระหว่างจุด A กับจุด B มีค่าเป็นเท่าไร ให้เหตุผลอย่างชัดเจน
![]() |
375. | จงหาค่าของอัตราส่วนระหว่างประจุใน C เมื่อสวิทช์อยู่ที่ตำแหน่ง ต่อประจุใน C เมื่อสับสวิทช์ไปทที่ตำแหน่ง
![]() |
376. | พิจารณาวงจรทั้งสองรูปข้างล่าง G เป็นแกลแวนอมิเตอร์ตัวเดียวกันในทั้ง สองรูป E เป็นเซลล์ไฟฟ้าเดียวกันด้วย ความต้านทานภายใต้ของเซลล์ไฟฟ้ามีขนาดน้อยมาก จะต้องใช้ค่าความต้านทาน R เท่าใด จึงจะทำให้แกลแวนอมิเตอร์ชที่เดิมในทั้งสองกรณี
![]() |
377. | พิจารณาวงจรดังรูป
![]() 2) ถ้าสวิตซ์ S ถูกปิดทิ้งไว้นานมากตัวเก็บประจุได้รับการประจุจนเต็ม ก. จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว และค่าประจุบนตัวเก็บประจุแต่ละตัว
ข. จากนั้น ณ เวลา t′ = 0 ยกสวิตซ์ขึ้น จงหาค่ากระแสไฟฟ้า (I3kΩ) ที่ผ่านตัวต้านทาน 3.00 kΩ ณ เวลา t′ ใดๆ พร้อมทั้งเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง I3kΩ นี้และเวลา t′
ค. จงหาเวลา t′ ที่ต้องใช้ในการที่ตัวเก็บประจุจะคายประจุจนเหลือประจุรวมเพียง 1/5 ของค่าเริ่มต้น
(ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.5 ศูนย์เตรียม 18 ธ.ค. 2554) |
378. | ในวงจรรูปขวามือ ถ้าต่อ A และ B เท่ากับแหล่งโวลเตจภายนอก ความสัมพันธ์ระหว่าง R1, R2, C1 และ C2 ต้องเป็นอย่างไรกัน จึงจะทำให้จุด a และจุด b มีศักย์เท่ากัน (ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.4 ศูนย์เตรียม 24 ต.ค. 2552) ![]() |
379. | จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด a กับจุด b (กำหนดให้ ε1 > ε2)
![]() |
380. | กำหนดให้ RAB, RBC, RAC แทนค่าความต้านทานสมมูลระหว่างปลาย A กับ B , B กับ C และ A กับ C ตามลำดับ จงหาค่าของอัตราส่วน RAB, RBC, RAC (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 9 ก.ย. 2544) ![]() |
381. | In มีค่ากี่แอมแปร์ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555)
![]() |
382. | ลวดตัวนำเส้นหนึ่งมีขนาดไม่เท่ากันตลอดเส้นตอนที่มีขนาดเล็กมีพื้นที่หน้าตัด a และตอนที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นที่หน้าตัด A ดังรูป มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดตอนเล็ก i แอมแปร์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตอนใหญ่จะเป็นเท่าใด
![]() |
383. | ในเส้นลวดโลหะขนาดสม่ำเสมอเส้นหนึ่งภายในเวลา t วินาทีมีประจุ +Q1 คูลอมบ์และ −Q2 คูลอมบ์เคลื่อนที่สวนทางกันผ่านพื้นที่หน้าตัดขนาด A ตารางเมตรของเส้น ลวด กระแสไฟฟ้าในเส้น ลวดโลหะนี้คือข้อใด
|
384. | กระแสไฟฟ้า I ที่ผ่านเส้นลวดโลหะเส้นหนึ่งสัมพันธ์กับเวลา t ดังกราฟ จงหาปริมาณประจุไฟฟ้าทั้งหมดที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดโลหะนี้ในช่วง เวลา 0 ถึง 10 วินาที
![]() |
385. | ลวดเส้นหนึ่งยาว ℓ รัศมี r อีกเส้นหนึ่งยาว 2ℓ รัศมี \(\rm\dfrac{r}{2}\)เส้นที่มีความต้านทานสูง มีค่าความต้านทานเป็นกี่เท่าของอีกเส้นหนึ่ง ลวดทั้งคู่ทำจากวัสดุชนิดเดียวกัน |
386. | นำลวดโลหะเส้นหนึ่งต่อเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าดังรูป พบว่าอัตราการสูญเสียพลังงานในลวดเป็นค่าหนึ่งถ้านำลวดเส้นนี้ไปรีดให้ยาวเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าโดยไม่ตัดเนื้อโลหะออกเลย แล้วนำไปต่อกับเซลล์ไฟฟ้าเซลล์เดิม อัตราการสูญเสียพลังงานไฟฟ้าในลวดเส้นใหม่นี้จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
![]() |
387. | แบตเตอรี่รถยนต์ลูกหนึ่งมีขนาดเป็น 80 A ⋅ h แล้วหน่วยแอมแปร์-ชั่วโมงนี้เป็นหน่วยของอะไร |
388. | ถ้าต้องการนำทองแดงมวล m สภาพต้านทาน ρ มีความหนาแน่น D มาดึงเป็นเส้นลวดขนาดสม่ำเสมอใหมี้ความต้านทาน R จะได้ความยาวของลวดทองแดงมีค่าเท่าใด |
389. | ลวดทำความร้อนต่อกับความต่างศักย์ 220 โวลต์จุ่มอยู่ในถ้วยกาแฟที่ทำด้วยฉนวน ถ้วยนี้บรรจุนํ้า 200 กรัม พบว่าทำใหอุ้ณหภูมิของนํ้าเปลี่ยนจาก 20 องศาเซลเซียสไปเป็น 70 องศาเซลเซียสในเวลาครึ่งนาที จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านลวดนี้ (ความจุความร้อนจำเพาะของนํ้าเป็น 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน) |
390. | จากรูป กระแสไฟฟ้า I มีค่าเท่าใด
![]() |
391. | จากวงจรไฟฟ้ากระแสตรงดังแสดงในรูปด้านล่าง จงคำนวณหาค่าความต้านทาน R1 ว่ามีค่าเท่าไหร่ที่ทำให้แรงดันที่จุด AB มีค่าเท่ากับศูนย์โวลต์
![]() |
392. | แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่ง ขณะที่ต่ออยู่กับวงจรตามรูปพบว่าเข็มชี้เต็มสเกลพอดี เมื่อนำตัวต้านทานอีกหนึ่งตัวค่า 1, 500 โอห์มมาต่อแบบอนุกรมให้กับวงจรพบว่า เข็มของมิเตอร์ชี้ที่ \(\dfrac{1}{4}\)ของสเกล ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเกิดจากเซลล์ที่มีความต้านทานภายในต่ำมากและความต้า้ นทาน ของแกลแวนอมิเตอร์น้อยมาก ตัวต้านทาน R มีค่าความต้านทานเท่าไร
![]() |
393. | กราฟข้างล่างนี้ แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ระหว่างปลายและกระแสไฟฟ้าที่ไหล ผ่านตัวต้านทาน 4 ตัว คือ ก, ข, ค, งตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานสูงสุดคือ
![]() |
394. | ![]() |
395. | กัลวานอมิเตอร์ตัวหนึ่งมีความต้านทาน 200 โอห์ม รับกระแสได้สูงสุด 10 มิลลิแอมแปร์นำกัลป์วานอมิเตอร์ดังกล่าวมาดัดแปลงเป็นโอห์มมิเตอร์ดังรูป ก่อนการใช้งานต้องนำปลาย X และ Y มาแตะกันและปรับค่า R0 เป็นกี่โอห์ม
![]() |
396. | ถ้านำหลอดไฟขนาด 0.5 แอมแปร์ 2 โวลต์จำนวน 4 ดวงมาต่อขนานกันแล้วนำไปต่อเข้ากับแรงเคลื่อน 9 โวลต์และความต้านทาน R ดังรูป R จะต้องมีค่าเท่าใดที่ทำให้หลอดไฟทั้ง 4 เปล่งสว่างปกติ (ในหน่วยโอห์ม)
![]() |
397. | วางประจุบนผิวของทรงกลมตัวนำที่อยู่โดดเดี่ยวรัศมี 2.7 cm ความหนาแน่นประจุเชิงผิวมีค่าสม่ำเสมอและมีค่าเป็น 6.9 × 10−6 C/m2 แล้วทรงกลมนี้มีประจุทั้งหมดเท่าไร |
398. | โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเป็นกลางทางไฟฟ้า ตั้งอยู่บนฐานที่เป็นฉนวน ถ้านำประจุบวกขนาดเท่ากันมาใกล้ปลายทั้งสองข้างพร้อมกัน โดยมีระยะจากปลายเท่าๆ กัน ตามลำดับ การกระจายของประจุบนส่วน A ส่วน B และส่วน C ของทรงกระบอกเป็นอย่างไร
![]() |
399. | สามเหลี่ยมด้านเท่า ยาวด้านละ 10 cm ที่จุดยอดของสามเหลี่ยมมีประจุ +1 μC, − 2 μC และ +2 μC ดังรูป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทำต่อประจุ +2 μC
![]() |
400. | ลูกพิท A และ B ซึ่งมีประจุ 0.8 ไมโครคูลอมบ์ เท่ากัน ผูกติดกับด้ายเบาซึ่งติดอยู่กับผนังคนละฝั่ง และวางอยู่บนพื้นราบลื่น ที่เป็นฉนวน ต่อมานำลูกพิท C ซึ่งมีประจุเป็น 1.6 ไมโครคูลอมบ์ วางระหว่างลูกพิท A และ B ปรากฎว่าด้ายที่ผูกลูกพิททั้งสองตึง และลูกพิท C วางนิ่งอยู่ วัดระยะระหว่างลูกพิท A กับ C และ B กับ C ได้ 10 เซนติเมตร ดังรูป อยากทราบว่าแรงตึงเชือกของด้ายทีผูกติดกับลูกพิท A มีค่าเท่าไร
![]() |
401. | ประจุ +Q กระจายสม่ำเสมออยู่บนผิวทรงกลมรัศมี R สมมติมีแรงภายนอกกระทำบนประจุ +q เพื่อให้ประจุ +q เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวแกน x ด้วยความเร็วคงที่ผ่านจุดศูนย์กลางทรงกลมถ้ากำหนดให้ทิศทางของแรงไปทาง +x เป็นบวก และทิศไปทาง – x เป็นลบ กราฟระหว่างแรงภายนอกกับระยะ x จะเป็นแบบใด
![]() |
402. | อนุภาคมวล m ประจุเป็นบวกเคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วงและแรงไฟฟ้าจากสนามไฟฟ้า E ซึ่งชี้ขึ้นในแนวดิ่งถ้าอนุภาคตกด้วยความเร่ง a จงหาค่าของประจุของอนุภาค |
403. | ยิงอิเล็กตรอนมวล me ประจุ −e ในแนวระดับเข้ากึ่งกลางระหว่างแผ่นประจุไฟฟ้าคู่ขนานความต่างศักย์ 4 โวลต์ แต่ละแผ่นยาว 60 เซนติเมตร และวางห่างกัน 30 เซนติเมตร ดังรูป อิเล็กตรอนต้องมีพลังงานจลน์กี่อิเล็กตรอนโวลต์ (eV) จึงจะชนที่ปลายขอบแผ่นประจุไฟฟ้าด้านบนพอดี (ไม่คิดผลของแรงโน้มถ่วงของโลก)
![]() |
404. | อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา เมื่อเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก ข้อใดไม่เกิดการเบน |
405. | ลูกพิธ 2 ลูก มีมวลเท่ากัน และแต่ละลูกมีประจุไฟฟ้าเท่ากันทั้งคู่ แขวนจากจุดเดียวกันด้วยเอ็นที่เป็นฉนวนยาว 10 เซนติเมตร ลูกพิธทั้งสองกางออกทำมุม 37 องศากับแนวดิ่งแรงระหว่างประจุไฟฟ้าที่กระทำต่อลูกพิธแต่ละลูกเป็นกี่เท่าของแรงโน้มถ่วง ที่กระทำต่อลูกพิธนั้น (กำหนดให้ \(\sin37°=\dfrac{3}{5}\))
![]() |
406. | ในการทดลองเรื่องหยดน้ำมันของมิลลิแกน ถ้าใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ หยดน้ำมันมีมวล 8 × 10-16 กิโลกรัม ระยะห่างระหว่างแผ่นขั้วโลหะเท่ากับ 0.8 เซนติเมตร ทำให้หยดน้ำมันอยู่นิ่ง หยดน้ำมันได้รับอิเล็กตรอนกี่ตัว |
407. | มีประจุ +q วางอยู่บนแกน x ณ ตำแหน่ง x = 0 และประจุ −2q วางอยู่ ณ ตำแหน่ง x = +d ต้องการทราบว่า ณ ตำแหน่ง x มีค่าเท่าใดที่ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์
![]() |
408. | แผ่นโลหะขนาน 2 แผ่นวางห่างกันเป็นระยะ d และมีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้าม อิเล็กตรอนที่หลุดจากแผ่นลบจะวิ่งด้วยความเร่ง a ไปยังแผ่นบวก ถ้าให้ m และ e เป็นมวลและประจุอิเล็กตรอนตามลำดับ แผ่นโลหะทั้งสองมีความต่างศักย์เป็นเท่าไร |
409. | ถ้าศักย์ไฟฟ้าที่ผิวโลหะทรงกลมรัศมี R มีค่าเท่ากับ Vo จงหาสนามไฟฟ้าที่ระยะ 2R จากจุดศูนย์กลางของทรงกลม |
410. | เป็นแผ่นไม้ซึ่งลอยน้ำได้ (รูป ก.) M เป็นก้อนวัตถุซึ่ง หนักกว่าน้ำ เมื่อนำ M ไปห้อยติดใต้ B ทำให้ B จมลงไปจากเดิมเป็นระยะทาง d (รูป ข.) แต่ถ้านำ M วางทับ B จะทำให้ B จมลงไปอีกเป็นระยะทาง h (รูป ค.) จงหาค่าความถ่วงจำเพาะของ M (นั่นคือ หาว่า M มีความหนาแน่นเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้ำ) (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2551) ![]() |
411. | ถังน้ำทรงกระบอกรัศมี R ความสูง H ใส่น้ำจนเต็มเมื่อตั้งดิ่งจากนั้นจึงจับเอียงทำมุม θ กับแนวดิ่งจะเหลือน้ำในถังเป็นปริมาตรเท่าใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2551) ![]() |
412. | ถังทรงกระบอกพื้นที่ภาคตัดขวาง A ตั้งดิ่งมีนํ้าบรรจุ m เป็นวัตถุที่มีความหนาแน่นครึ่งหนึ่งของน้ำ ระดับน้ำในถังจะสูงขึ้น จากเดิมเท่าใดเมื่อนำ m ไปลอยอิสระที่ผิวน้ำ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2555) ![]() |
413. | หลอดรูปตัวยูขนาดใหญ่ปลายเปิดฐานยาว l ใส่น้ำและตรึงติดรถที่กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a ระดับน้ำในแขนซ้ายของหลอดจะสูงกว่าในแขนขวาอยู่เท่าใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 3 ก.ย. 2549) ![]() |
414. | ความดันเลือดสูงสุดของคน ๆ หนึ่งเมื่อวัดด้วยเครื่องมือที่ใช้ความสูงของปรอทวัด พบว่าลำปรอทสูง 120 มิลลิเมตร ถ้าเปลี่ยนไปใช้น้ำแทนปรอท น้ำจะขึ้นไปสูงเท่าใด กำหนดว่าความหนาแน่นของปรอทและน้ำมีค่า 13600 kg/m3 และ 1000 kg/m3 ตามลำดับ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 28 ส.ค. 2548) |
415. | ท่อพื้นที่ภาคตัดขวาง A พ่นลำน้ำสวยงามขึ้นในแนวดิ่ง กระทบลูกบอลใหญ่มวล m ทำให้ลอยอยู่ในสมดุลที่ความสูง h จากปากท่อโดยที่น้ำลอยอยู่ในสมดุลที่ความสูง h จากปากท่อโดยที่น้ำที่กระทบลูกบอลแผ่ออกจากใต้บอลตั้งฉากกับแนวเดิม จะต้องเพิ่มความเร็วต้นของลำน้ำเป็นกี่เท่าค่าเดิมจึงจะทำให้ลูกบอลเลื่อนสูงขึ้นจากปากท่อเป็น 2h (ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.5 ศูนย์เตรียม 24 ต.ค. 2553) ![]() |
416. | ในรูปซ้ายมือ ท่อใหญ่มีพื้นที่ตัดขวางเป็น 2 เท่าของท่อเล็กหลอดรูปตัวยูบรรจุของเหลว ที่มีความหนาแน่น ρ2 ของไหล (คนละชนิดกับในหลอดตัวยู) ในท่อมีความหนาแน่น ρ1 ความเร็วของมันในท่อใหญ่เป็น v ค่าผลต่าง h ของระดับของเหลวในหลอดตัวยูเป็นเท่าใดให้ตอบในรูปของ ρ1, ρ2, g และ v (ข้อสอบปลายค่าย 1 ศูนย์เตรียม 28 ต.ค. 2543) ![]() |
417. | จงประมาณกำลัง (พลังงานที่ใช้ต่อเวลา) ที่จำเป็นซึ่งจะทำให้เฮลิคอปเตอร์ มวล 500 kg ที่มีใบพัดยาว 2.5 m ลอยนิ่งอยู่ในอากาศได ้ให้ใช้ความหนาแน่นอากาศ = 1.29 kg/m3 แนะ: เฮลิคอปเตอร์ใช้กำลังในการเป่าอากาศใต้ปีกลงมา และให้สมมติว่าใบพัดเป่าอากาศซึ่งเดิมอยู่นิ่งให้เคลื่อนที่ลงมาด้วยอัตราเร็วคงที่เท่ากันหมด (ข้อสอบปลายค่าย 1 ศูนย์เตรียม 28 ต.ค. 2543) |
418. | ภาชนะพื้นที่ตัดขวางสม่ำเสมอ A มีน้ำความหนาแน่น ρw บรรจุอยู่ภายใน มีวัตถุรูปลูกบาศก์ด้านยาวด้านละ d ความหนาแน่น ρ(< ρw) จมอยู่ใต้น้ำ โดยมีเชือกผูกติดกับก้นภาชนะดึงไว้ ถ้าเชือกขาดและวัตถุลูกบาศก์ลอยขึ้นสู่ผิวน้ำโดยมีหน้าลูกบาศก์ขนานกับผิวน้ำในแนวระดับ จงหาว่าระดับน้ำในภาชนะลดลงหรือเพิ่มขึ้น เท่าใดจากตอนที่เชือกยังไม่ขาด (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 2 ก.ย. 2550) |
419. | แผ่นโลหะบางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งแต่ละด้านยาว 5 เซนติเมตร เมื่อนำแผ่นโลหะไปลอยบนผิวน้ำพบว่าแผ่นโลหะสามารถลอยอยู่บนน้ำได้ ้ถ้าเหตุการณ์ดังกล่าวเป็นผลมาจากแรงตึงผิวเพียงอย่างเดียว จงคำนวณหามวลที่มากที่สุดที่เป็นไปได้ของแผ่นโลหะนี้ กำหนดให้ความตึงผิวของน้ำมีค่า 0.070 นิวตันต่อเมตร |
420. | เมื่อหย่อนลูกโลหะทรงกลมเล็ก ๆ ลงในทรงกระบอกที่ทำด้วยแก้วโดยมีน้ำมันบรรจุอยู่ ถ้าระยะ ab = bc = cd แล้วการเคลื่อนที่ของลูกโลหะในช่วงใดที่น่าจะมีความเร่ง และมีความเร็วคงตัว
![]() |
421. | ในการทดลองหาความตึงผิวของของเหลวอย่างหนึ่งถ้าวงแหวนที่ใช้มีเส้นรอบวงยาว 25 ซม. จะต้องแขวนมวล 50 กรัม เพื่อทำให้คานอยู่ในสมดุล ขณะที่ห่วงวงแหวนยังสัมผัสผิวของเหลว และเมื่อค่อยๆ เพิ่มมวลจนห่วงวงแหวนหลุดจากผิวของเหลวพบว่าต้องใช้มวล m ทั้งหมด 62.6 กรัม ความตึงผิวของของเหลวที่ใช้ทดลองมีค่าเท่าใด
![]() |
422. | ลูกปิงปองกำลังลอยขึ้นจากก้นสระน้ำในขณะที่ลูกปิงปองมีอัตราเร็วไม่คงที่ผลของความหนืดของน้ำจะทำให้อัตราเร็วและอัตราเร่งของลูกปิงปองมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร |
423. | เครื่องอัดไฮโดรริกใช้สำหรับยกรถยนต์เครื่องหนึ่งใช้น้ำมันที่มีความหนาแน่น 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร พื้นที่ของลูกสูบใหญ่และลูกสูบเล็กมีค่า 1200 ตารางเซนติเมตร และ 30 ตารางเซนติเมตรตามลำดับ ต้องการยกรถยนต์หนัก 1500 กิโลกรัม โดยใช้แรงกด 300 N อยากทราบว่าขณะที่กดลูกสูบเล็กระดับน้ำมันในลูกสูบเล็กอยู่สูงกว่าระดับ น้ำมันในลูกสูบใหญ่เท่าใด |
424. | เขื่อนแห่งหนึ่งกว้าง ℓ โดยผนังเขื่อนที่รับน้ำเอียงทำมุม θ กับแนวดิ่ง และน้ำมีความหนาแน่นเป็น ρ ถ้าแรงดันเนื่องจากน้ำหนักของน้ำที่กระทำต่อเขื่อนมีค่าเป็น F ระดับน้ำในเขื่อนจะสูงเท่าไรจากพื้นเขื่อน
![]() |
425. | เนื่องจากฝนตกทำให้ระดับน้ำเหนือเขื่อนเพิ่มขึ้นจาก 8 เมตร เป็น 10 เมตร แรงดันที่น้ำกระทำต่อเขื่อนจะเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่เปอร์เซ็นต์ ถ้าความกว้างของเขื่อนคงตัว |
426. | ของเหลว 3 ชนิด มีความหนาแน่น D1, D2, D3 บรรจุในภาชนะดังรูป ถ้า D2 = 2D1 จงหาว่า D3 เป็นกี่เท่าของ D1
![]() |
427. | เมื่อใช้แมนอมิเตอร์แบบปรอทวัดความดันของแก๊สในถัง พบว่าปรอทสูงขึ้น 10 เซนติเมตรดังรูป จงหาความดันของแก๊สดังกล่าว
![]() |
428. | การขึ้นรูปโลหะวิธีการหนึ่งที่เป็นที่นิยมคือการ กด (Press) โดยใชเ้ครื่องกดไฮดรอลิกส์ ถ้าหากว่าที่เราต้องการแรงกดเท่ากับ 1,000 กิโลนิวตัน ซึ่งพื้นที่หน้าตัดของกระบอกสูบหัวกดมีค่าเท่ากับ A ส่วนด้านกระบอกสูบให้แรงลูกสูบมีพื้นที่หน้าตัด \(\rm\dfrac{A}{10}\) จงหาว่าต้องการออกแรง F ที่ด้านกระบอกสูบให้แรงเท่าใด
![]() |
429. | จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดัน (P) และความลึก (h) ดังรูป อยากทราบว่าความหนาแน่นของของเหลวมีค่าเท่าไร
![]() |
430. | จากรูป ระบบซึ่งประกอบด้วยกระบอกสูบและลูกสูบ 3 ชุดภายในบรรจุด้วยของเหลวมีพื้นที่หน้าตัดของกระบอกสูบเป็น A, 2A และ 3A ซึ่งมีมวล M1, M2 และ M3 วางอยู่บนลูกสูบของแต่ละชุดตามลำดับ ถ้าถือได้ว่าลูกสูบทุกอันมีน้ำหนักเบามากและไม่มีแรงเสียดทานระหว่างผิวของกระบอกสูบและลูกสูบเมื่อระบบอยู่ในภาวะสมดุล จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง M1, M2 และ M3
![]() |
431. | วัตถุทรงลูกบาศก์ที่ทำจากเหล็กซึ่งมีความหนาแน่น 7.7 × 103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และมีความยาวแต่ละด้านเป็น 1 เซนติเมตรเมื่อนำวัตถุนี้ไปใส่ในภาชนะที่บรรจุน้ำและปรอทพบว่าวัตถุลอยอยู่ระหว่าง ชั้น ของน้ำและปรอทดังรูป จงหาว่าวัตถุนี้จมลงไปในปรอทเป็นระยะเท่าใด ถ้ากำหนดให้น้ำและปรอทมีความหนาแน่น 103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ 13.6 × 103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ
![]() |
432. | ถาดน้ำกับน้ำมีมวลรวมกันเท่ากับ M วางอยู่แล้วบนตาชั่ง นำก้อนวัตถุมวล m ปริมาตร V มาใส่ลงในถาดและจมลงในน้ำนั้น อยากทราบว่าตาชั่งจะชี้น้ำหนักเท่าไหร่ กำหนดให้ว่าน้ำมีความหนาแน่น ρ และค่าความโน้มถ่วงของโลกเป็น g |
433. | ลูกบอลลูนทำด้วยวัสดุที่มีมวล 2M มีปริมาตร V ภายในบอลลูนบรรจุอากาศร้อนที่มีความหนาแน่น ρ อากาศภายนอกบอลลูนมีความหนาแน่น ρair ถ้าลูกบอลลูนลอยได้พอดี อากาศร้อนต้องมีความหนาแน่นเท่าใด (ทุกปริมาณใช้หน่วย SI) |
434. | คาบการแกว่งของนาฬิกาลูกตุ้มอย่างง่ายที่ลวดแขวนยาวขึ้นเพราะอุณหภูมิเพิ่มขึ้น กำหนด ก. คาบ T ของนาฬิกาลูกตุม้ อย่างง่ายเป็นไปตามสูตร \(\text{T} = 2π \sqrt{l/\text{g}}\) เมื่อ l เป็นความยาวของลวดแขวนลูกตุ้มและ g เป็นขนาดความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
ข. สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเส้นเนื่องจากความร้อน α คือ อัตราส่วนความยาวที่เปลี่ยนไป Δl ต่อความยาวเดิม l เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งหน่วย
ค. นักเรียนสามารถใช้การประมาณ \(\rm \sqrt{1+x}≈1 + x/2\) เมื่อ x มีขนาดน้อย 1 กว่ามาก ๆ
นาฬิกาลูกตุ้ม อย่างง่ายเรือนหนึ่งมีลวดแขวนที่มีสัมประสิทธิ์การขยายตัว เชิงเส้นเนื่องจากความร้อนเท่ากับ α และมีคาบแกว่ง T ที่ความยาว l1 เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น Δθ น้อยมาก ๆ เมื่อ เทียบกับอุณหภูมิเดิม และคาบการแกว่งเปลี่ยนไปเป็น T + ΔT จงหาค่าอัตราส่วน ΔT/T ในรูปของตัวแปรที่กำหนดมา(ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 2 ก.ย. 2550) |
435. | มวล M กับ m เชื่อมกันด้วยสปริงเบา ๆ กำลังสั่น "อยู่กับที่" เทียบกับระบบอ้างอิงเฉื่อย โดยที่ m สั่นด้วยแอมพลิจูด A จงหาค่าของแอมพลิจูดของการสั่นของ M (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555) ![]() |
436. | ![]() (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2557) |
437. | การเคลื่อนที่ของระบบนี้บรรยายได้ด้วยการเคลื่อนที่ 3 สมการ
\(\rm m\ddot x_1 = +k(x_2 − x_1 − ℓ)\) . . . (1)
จงเขียนอีก 2 สมการให้ครบแล้วแก้สมการเพื่อหาความถี่ของการสั่นพื้นฐานซึ่งมีอยู่ 2 ค่า(ข้อสอบปลายค่าย 2 ม.5 ศูนย์เตรียม 26 มี.ค. 2556) ![]() |
438. | ล้อทรงกระบอกตันมวล M รัศมี R สามารถหมุนได้คล่องรอบจุด O มีปลายหนึ่งของสปริง k ยึดไว้และอีกปลายของสปริงยึดกับเพดาน มวล m ซึ่งถ่วงขอบของทรงกระบอกทำให้นิ่งและ OA อยู่ในแนวระดับพอดี ต่อมาดึง m ลงนิดหน่อยแล้วปล่อย m จะเคลื่อนขึ้นลงๆ ด้วยคาบของการสั่นเป็นเท่าไร (ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.5 ศูนย์เตรียม 24 ต.ค. 2553) ![]() |
439. | ลูกกลมโลหะขนาดเล็กมาก 2 ลูกที่เหมือนกันทุกประการ (แต่ละลูกมีมวล m และประจุ q) ถูกแขวนจากเชือกที่ทำจากฉนวนยาว L จงหาค่า x เมื่อระบบอยู่ในสมดุล โดยมุม θ มีขนาดเล็กมากจนประมาณได้ว่า tan θ ≈ sin θ (ตอบในรูปของตัวแปร m, q, L และค่าคงที่มาตรฐานต่างๆ เช่น g) (ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.4 ศูนย์เตรียม 18 ต.ค. 2554) ![]() |
440. | แผ่นกลมแบนแกว่งได้คล่องในระนาบของแผ่นรอบจุด O ระยะทางจาก O ถึงจุด CM ต้องมีค่าเท่าไร คาบของการแกว่งด้วยแอมพลิจูดเล็ก ๆ จึงจะมีค่าเล็กที่สุด และค่านี้เป็นเท่าไรในรูปของ g , R (ข้อสอบปลายค่าย 2 ม.5 ศูนย์เตรียม 24 มี.ค. 2552) ![]() |
441. | ภาพนี้แสดงระบบในสภาวะสมดุลเชิงกล l เป็นระยะทางระหว่างรอกทั้งสอง ขณะที่เชือกส่วนนี้ทำมุม θ0 กับแนวดิ่งถ้าดึง M ลงนิดหน่อยแล้วปล่อยระบบจะสั่น ( M และ m เคลื่อนที่ขึ้นลงสลับกัน) จงวิเคราะห์หาคาบของการสั่นด้วยแอมพลิจูดเล็ก ๆ นี้ในเทอมของ m , M , l , g , sin θo (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2557) หมายเหตุ \(\dfrac{1}{1+a} ≈ 1-a\) สำหรับ \(|a| ≪ 1\) \(Δ(\cos θ) ≈ −\sin θ ⋅ Δθ\) ถ้ารู้แคลคูลัส... (ไม่รู้ก็ทำได้อยู่แล้ว) |
442. | สปริงไร้มวล ความยาวธรรมชาติ l ค่าคงตัวสปริง k ขดหนึ่งวางตั้งตรงอยู่ในแนวดิ่ง ปลายล่างของสปริงถูกยึดไว้กับพื้น ส่วนปลายบนเคลื่อนที่ได้อย่าอิสระ ปล่อยวัตถุมวล m จากที่สูง h จากปลายบนของสปริงให้ตกในแนวดิ่ง ลงมาบนสปริงกำหนดว่าเมื่อวัตถุชนกับสปริง แล้วจะถูกยึดติดกับปลายของสปริงตลอดเวลา สมมุติด้วยว่าความสูงที่ปล่อยวัตถุลงมาไม่สูงมากพอให้สปริงหดสั้นจนถึงพื้นได ้
1) สปริงหดสั้นที่สุดเท่าใด
2) ตำแหน่งสมดุลของวัตถุอยู่สองจากพื้นเท่าใด
3) วัตถุจะกระดอนกลับขึ้นไปสูงสุดจากพื้นเท่าใด
4) วัตถุมีอัตราเร็วสูงสุดเท่าใด
5) ให้ y เป็นตำแหน่งของวัตถุจากตำแหน่งสมดุล โดยให้ y มีค่าเป็นบวกเมื่อวัดขึ้นในแนวดิ่ง ที่ตำแหน่งใด ๆ นี้วัตถุมีความเร่งเท่าใด
จงใหเ้หตุผลแสดงว่าวัตถุจะสั่นขึ้นลงแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แล้วให้หาว่าตำแหน่ง y ของวัตถุจากตำแหน่งสมดุลที่เวลา t ใด ๆหลังติดกับสปริงเป็นฟังก์ชันอย่างใดของเวลา t
6) การสั่นนี้มีคาบเท่าใด
(ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.4 ศูนย์เตรียม 24 ต.ค. 2552) |
443. | ในการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกของวัตถุใดๆ ความเร่งของวัตถุมีเฟสนำหน้าความเร็วอยู่เท่าใด |
444. | การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ถ้าใหลู้กตุ้มเคลื่อนที่จาก ไป ไป แล้ว ไป ดังรูปใช้เวลา วินาที คาบของการเคลื่อนที่มีค่าเท่าใด
![]() |
445. | ถ้าลูกตุ้มในรูป ก แกว่งจากตำแหน่ง (1) ไปตำแหน่ง (2) ใช้เวลา t การแกว่งในรูป ข จากตำแหน่ง a ไป b ไป c ใช้เวลาเท่าใด
![]() |
446. | จงยกตัวอย่างวัตถุที่มีการสั่นที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน |
447. | มวล 400 กรัม ติดอยู่กับสปริงซึ่ง มีค่านิจสปริง 25.6 นิวตันต่อเมตร โดยเริ่มต้นดึงมวลให้ได้ระยะ 5.00 เซนติเมตร จากตำแหน่งสมดุล แล้วปล่อยให้สั่นอย่างอิสระในแนวระดับ จงหาสมการแสดงการกระจัดในช่วงเวลาต่าง ๆ ของมวลนี้
![]() |
448. | เมื่อใช้สโตรโบสโคปที่มี 1 ช่อง วัดความถี่ของการสั่นของมวล 0.25 กิโลกรัม ซึ่งผูกกับสปริงที่แขวนในแนวดิ่ง พบว่าเห็นภาพมวลหยุดนิ่งที่หนึ่งได้เมื่ออัตราเร็วของสโตรโบสโคปเป็น 3, 4 และ 12 รอบต่อวินาที ถัดกันไป ถามว่าค่านิจสปริงมีค่ากี่นิวตันต่อเมตร |
449. | ปล่อยลูกตุ้มซึ่งมีสายยาว 90 เซนติเมตรจากมุมหนึ่งให้แกว่ง แต่สายลูกตุ้มติดตะปูที่ระยะ 50 เซนติเมตร ใต้จุดที่แขวนในแนวดิ่งลูกตุ้มจะแกว่งกลับมาที่เดิมในเวลาเท่าใด
![]() |
450. | วัตถุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย โดยมีความสัมพันธ์ของการกระจัด (y) หน่วยเมตร และเวลา (t) หน่วยวินาที เป็นไปตามสมการ
y = 0.5 sin(10t)
อยากทราบว่าขนาดของความเร่ง ที่ตำแหน่งไกลสุดจากสมดุลมีค่าเท่าไร |
451. | นาฬิกาแบบลูกตุ้มเรือนหนึ่งลูกตุ้มแกว่งได้ 60 รอบต่อนาที ความยาวของก้านของลูกตุ้มนาฬิกามีค่ากี่เมตร |
452. | ลูกตุ้มมวล m ยาว ℓ เริ่มแกว่งจากหยุดนิ่งในแนวระดับลงไปชนมวล M แล้วติดไปด้วยกัน หลังการชนมวล m จะแกว่งขึ้นไปได้ระยะทางสูงสุดเท่าใดจากพื้น (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555) ![]() |
453. | มวล M ตั้งต้นเคลื่อนที่เข้าหากำแพงจากระยะห่าง D ด้วยความเร็วคงที่ v ที่จังหวะเดียวกันกับที่ลูกบอลเล็กๆ มวล m << M กระดอนจาก M แล้วด้วยความเร็ว u > v เทียบกับพื้นไปชนและกระดอนอย่างยืดหยุ่นจากกำแพงแข็งกลับมาชนกับ M อีก ที่จังหวะนี้ m ได้เคลื่อนที่ไปแล้วเป็นระยะทางรวมเท่าใดนับจากเมื่อชน M ครั้งแรก (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555) ![]() |
454. | สปริงมีความยาวธรรมชาติ ℓ ปลายหนึ่งยึดติดกำแพง อีกปลายหนึ่งยึดกับมวล m ถูกอัดไว้เป็นระยะทาง \(\dfrac{ℓ}{2}\) แล้วปล่อยให้ดันมวล m ไปชนมวล m เท่ากันอีกก้อนที่แค่เดิมอยู่นิ่งที่ B แล้วติดกันไป จะไปได้ไกลสุดเท่าใดจากจุด B (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 3 ก.ย. 2549) ![]() |
455. | จงแปลงค่าของพลังงานจลน์ \(\rm \dfrac{1}{2}mv^2=5\) จูล ไปอยู่ในหน่วยกรัม (มิลลิเมตรต่อวินาที)2 (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 6 ก.ย. 2546) |
456. | มวล M อยู่นิ่งบนพื้นระดับลื่นและมีสปริงเบาติดอยู่ด้านซ้าย ค่าคงที่สปริงเท่ากับ k มวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้น u เข้าชน สปริงจะหดเข้าไปมากที่สุดเป็นระยะทางเท่าไร (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 6 ก.ย. 2546) ![]() |
457. | โปรเจคไทล์ตั้งต้นจากจุด O เมื่อขึ้นไปถึงจุดสูงสุดก็ระเบิดออกเป็นสองชิ้นมวลเท่ากัน ชิ้นหน้าคือ A ชิ้นหลังคือ B ทันทีหลังระเบิด B มีความเร็วเป็นศูนย์เทียบกับพื้น ชิ้น A จะตกบนพื้นเลยจุดตกของ B ไปเป็นระยะทางกี่เท่าของระยะทาง OC (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555) ![]() |
458. | ปล่อยลูกบอลมวล m จากจุดหยุดนิ่งจากที่สูง H จากพื้นทุกครั้งที่ลูกบอลกระทบพื้นจะกระดอนขึ้นด้วยอัตราเร็ว e(< 1) เท่าของอัตราเร็วก่อนกระทบพื้นพอดี ตอนที่ลูกบอลกระดอนขึ้นครั้งที่ n ลูกบอลมีพลังงานจลน์เท่าใด และจะกระดอนขึ้นไปได้สูงเท่าใดก่อนตกกลับลงมาอีก (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 29 ส.ค. 2553) |
459. | ลูกปืนตะกั่วลูกหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 200 m/s เข้าใส่เป้าและหยุดนิ่งอยู่ในเป้า สมมุติว่าพลังงานจลน์ทั้งหมดของลูกปืนเปลี่ยนเป็นความร้อนหมด และความร้อนนี้แบ่งไปให้ลูกปืนกับเป้าอย่างละเท่ากัน ลูกปืนมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่าใด ความจุความร้อนจำเพาะของตะกั่วมีค่าเป็น 0.032 เท่าของน้ำ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำมีค่าเท่ากับ 1.00 cal/(g ⋅∘C) และ 1.00 cal มีค่าเท่ากับ 4.186 J (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 30 ส.ค. 2552) |
460. | A กับ B เป็นมวลทรงกลมผิวเกลี้ยงรัศมีเท่ากัน A กำลังเคลื่อนที่ในแนว OX เข้าชน B ซึ่งอยู่นิ่งก่อนชนหลังการชนกันอย่างยืดหยุ่น แล้ว B จะกระเด็นทำมุมกี่องศากับแนว OX (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2551) ![]() |
461. | ปล่อยมวลเล็ก ๆ ให้ไถลจากจุดหยุดนิ่งที่จุด A เข้าสู่รางวงกลม OB อย่างนุ่มนวล (ไม่มีการสะดุด, กระแทก) จะต้องให้จุด A อยู่สูงจากพื้นระดับเป็นกี่เท่าของรัศมีของราง OB จึงจะทำให้มวลนั้นขึ้นถึงจุด B ได้พอดีโดยไม่แยกตัวจากรางก่อน (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2551) ![]() |
462. | ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงมาจากที่สูง 10 m กระดอนกับพื้น และลอยกลับขึ้นไปได้สูง 2.5 m ถ้าลูกบอลกระทบพื้นนาน 0.10 s ความเร่งเฉลี่ยของลูกบอลระหว่างที่แตะพื้นมีขนาดเท่าใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2551) |
463. | M กับ m ผูกโยงกันด้วยเส้นยางยืดหย่อนๆ อยู่บนผืนระดับรอบเเละลื่นต่อมาดีด M ไปทางขวาด้วยความเร็ว v∘ อึดใจต่อมาขณะที่เส้นยางยืดตึงที่สุดนั้น M มีความเร็วเป็นเท่าไรและพลังงานศักย์ของระบบขณะเดียวกันนั้นมีค่าเท่าไร (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 1 ก.ย. 2556) ![]() |
464. | ลูกตุ้ม M ห้อยอยู่นิ่ง ๆ มวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว u เข้าชนแล้วติดกันไปจะขึ้นไปได้สูงจากเดิมเป็นระยะทางเท่าไร (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 31 ส.ค. 2557) ![]() |
465. | มวล M รูปทรงกลมรัศมี R วางไว้ที่พื้นในห้องที่อุณหภูมิ t∘ จะมีพลังงานศักย์เพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าใด เมื่ออุณหภูมิห้องสูงขึ้นเป็น t1 (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 12 ก.ย. 2547) ![]() |
466. | มวล m1 กับ m2 ผูกติดกันด้วยเชือกยาว l และถูกเหวี่ยงให้หมุนอย่างอิสระบนโต๊ะระดับด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ω ผู้สังเกตในระบบอ้างอิงเฉื่อยจะพบความเร็วสัมพันธ์ระหว่าง m2 กับ m1 มีขนาดเป็นเท่าใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 3 ก.ย. 2549) ![]() |
467. | จงตอบคำถามต่อไปนี้
1) จงพิสูจน์ว่าในกรอบอ้างอิงจุดศูนย์กลางมวลของระบบ โมเมนตัมของระบบมีค่ารวมกันเป็นศูนย์
2) จงแสดงว่าพลังงานจลน์ทั้งหมดของระบบมีค่าเท่ากับพลังงานจลน์ของจุดศูนย์กลางมวลของระบบบวกกับพลังงานจลน์รอบจุดศูนย์กลางมวลของระบบ
(ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.4 ศูนย์เตรียม 24 ต.ค. 2552) |
468. | ![]() (ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.5 ศูนย์เตรียม 25 ต.ค. 2551) |
469. | ออกแรงคงตัวขนาด 10 นิวตัน ลากกล่องใบหนึ่งให้เคลื่นอนที่ด้วยความเร็วคงตัวบนพื้นในแนวระดับที่มีความเสียดทาน จงหางานของแรงที่ลากกล่องและงานของแรงเสียดทานตามลำดับ ถ้าการกระจัดของกล่องเป็น 3 เมตร |
470. | หย่อนเชือกที่ผูกกับวัตถุให้เคลื่อนที่ลงเป็นระยะทาง S ด้วยความเร็วคงตัว งานของแรงที่เชือกดึงวัตถุเป็นเท่าใด |
471. | แรงที่สปริงทำกับมวลก้อนหนึ่งแสดงดังกราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงสปริงกับการกระจัดของมวลจากตำแหน่งสมดุล ดังรูป
![]() ข. งานของแรงสปริงในช่วงการกระจัดจาก -0.3 ถึง 0.3 เมตร |
472. | วัตถุมวล m อยสูู่งจากพื้นเป็นระยะทาง h พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุนี้บนผิวโลกและบนผิวดวงจันทร์เท่ากันหรือไม่ |
473. | ถ้ามีแรงกระทำต่อวัตถุในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ พลังงานจลน์ของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ในทางกลับกันถ้าแรงนั้นมีทิศทางตรงข้าม พลังงานจลน์ของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร |
474. | ปล่อยลูกกลมอันหนึ่งจากจุด X ตกสู่พื้นตามแนวดิ่งผ่านจุด Y ซึ่งเป็นจุดกึ่งกลางระหว่างตำแหน่ง X กับพื้นถ้าให้ Ep เป็นพลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุ และ Ek เป็นพลังงานจลน์ของวัตถุที่ตำแหน่ง Y จงหาความสัมพันธ์ของ Ep กับ Ek
![]() |
475. | งานของแรง F ซึ่งกระทำกับวัตถุหนึ่งมีความสัมพันธ์กับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ S ดังรูป วัตถุใช้เวลาเคลื่อนที่ทั้งหมด 20 วินาที ในการทำงานของแรง F นี้กำลังเฉลี่ยของแรง F เป็นเท่าใด
![]() |
476. | กรรมกรคนหนึ่งแบกของหนัก 50 กิโลกรัม ขึ้นไปบนภูเขา โดยเริ่มต้นที่จุด O แล้วเดินไปตามทาง OABC ถึงจุดหมายที่จุด C งานที่กรรมกรผู้นี้ทำจะเท่ากับ (ค่า g = 10 m/s2)
![]() |
477. | วัตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่างสม่ำเสมอบนพื้นราบด้วยขนาดของความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที โดยมีรัศมี 0.5 เมตร งานเนื่องจากแรงสู่ศูนย์กลางเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ครึ่งรอบเป็นเท่าใด |
478. | กล่องหนัก 15 นิวตัน ถูกลากไปตามพื้นลื่นโดยแรง P = 30 นิวตัน ที่ทำมุม θ = 60∘ ด้วยความเร็ว 3 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นเวลา 1 นาที กำลังที่ใช้ในการลากกล่องเป็นเท่าไร
![]() |
479. | การเข็นรถไปตามพื้นราบและการเข็นรถไปตามพื้นเอียงด้วยอัตราเร็วคงตัวในระยะทางเท่ากัน กรณีใดต้องทำงานมากกว่ากันเพราะเหตุใด ถ้าถือว่าแรงเสียดทานที่กระทำต่อรถทั้งสองกรณีมีขนาดเท่ากัน |
480. | ออกแรงคงที่ F ในแนวระดับดันกล่องใบหนึ่งให้เคลื่อนที่จากหยุดนึ่งไปบนพื้นระดับลื่น จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกำลังขณะใด ๆ ของแรง F กับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ |
481. | มวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ในแนวราบบนพื้นที่มีแรงเสียดทาน 8 นิวตัน เข้าชนสปริงด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที ทำให้สปริงหดได ้10 เซนติเมตร ค่าคงตัวของสปริงเป็นเท่าใดในหน่วยนิวตัน/เมตร
![]() |
482. | จากรูป วัตถุเคลื่อนที่ลงจากทางโค้งซึ่งไม่มีแรงเสียดทาน เมื่อเคลื่อนที่ถึงพื้นราบ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างวัตถุกับพื้นราบเป็น 0.4 อยากทราบค่าวัตถุจะเคลื่นอนที่บนพื้นราบได้ไกลที่สุดเท่าไร
![]() |
483. | ผูกมวล m ติดไว้ที่ปลายสปริงเบาซึ่งมีความยาวปกติ 40.0 เซนติเมตร และมีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ 100 นิวตันต่อเมตร ถ้าเราแกว่งมวล m เป็นวงกลมบนพื้นโต๊ะลื่นรอบจุด O โดยมีรัศมีการเคลื่อนที่ 50.0 เซนติเมตร ขณะนั้นพลังงานจลน์ของมวลเป็นกี่เท่าของพลังงานศักย์ของสปริง
![]() |
484. | มวล M กับ m เชื่อมกันด้วยสปริงเบา ๆ กำลังสั่น "อยู่กับที่" เทียบกับระบบอ้างอิงเฉื่อย โดยที่ m สั่นด้วยแอมพลิจูด A จงหาค่าของแอมพลิจูดของการสั่นของ M (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555) ![]() |
485. | ถ้าคุณดันหนังสือกับผนังแนวดิ่งด้วยแรงมากพอหนังสือจะไม่ไถลตกลงมา ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิตระหว่างหนังสือกับผนังมีค่าเท่ากับ 0.7
1) คุณจะตองออกแรงดันตั้งฉากกับผนังด้วยขนาดอย่างน้อยเท่าใด หนังสือมวล 2.0 kg จึงจะไม่ไถลตกลงมากำหนดว่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงโลกมีขนาด 9.8 m/s2
2) ถ้าคุณออกแรงดันขนาด 35N แรงเสียดทานสถิตที่ผนังกระทำต่อหนังสือมีขนาดเท่าใด
(ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 28 ส.ค. 2548) |
486. | ห่วงเล็ก ๆ คล้องอยู่ในห่วงใหญ่ดังรูป โดยที่ห่วงใหญ่มีรัศมี R ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของทั้งสองห่วงเท่ากับศูนย์ จงหาค่าของมุม θ ที่จุดสมดุลเมื่อห่วงใหญ่หมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วเชิงมุม ω สูงมาก ๆ
![]() |
487. | ดีดวัตถุมวล m ก้อนหนึ่งด้วยอัตราเร็วต้น u ให้ไถลขึ้นไปตามพื้นเอียงซึ่งทำมุม θ กับแนวระดับ เมื่อวัตถุขึ้นไปไดสู้งสุดก็ตกกลับมาตามพื้นเอียง ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์ระหว่างวัตถุกับผิวพื้นเอียงมีค่า μk อัตราเร็วของวัตถุขณะที่กลับมาถึงที่ปลายพื้นเอียงมีค่าเท่าใด (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 3 ก.ย. 2549) |
488. | ตาชั่งสปริงอันหนึ่งแขวนไว้กับเพดานลิฟต์ที่กำลังเคลื่อนที่ ถ้าปลายล่างของตาชั่งมีวัตถุมวล 10 kg แขวนอยู่และตาชั่งอ่านค่าได ้125 N
1) จงหาความเร่ง (ทิศเเละขนาด) ของลิฟต์
2) ถ้าที่แขวนตาชั่งหลุดจากเพดาน ตาชั่งอ่านค่าเท่าใด
กำหนดว่าขนาดสนามโน้มถ่วงของโลกที่บริเวณนั้นมีค่าเท่ากับ 9.8 N/kg(ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 3 ก.ย. 2549) |
489. | ในระบบดาวฤกษ์สองดวง m1 กับ m2 ซึ่งโคจรรอบกันและกัน m1 โคจรตามแนววงกลมรัศมี R1 นั้น m2 จะมีอัตราเร็วเชิงเส้นเป็นเท่าใด (ใช้กฎการโน้มถ่วง \(\rm F =\dfrac{Gm_1m_2}{r^2} ,~ r =\) ระยะห่าง) (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 26 ส.ค. 2555) |
490. | ดีดวัตถุมวล m ด้วยอัตราเร็วต้นไปในทางทิศขวามือให้ไถลไปบนผิวแผ่นไม้มวล M แผ่นไม้วางอยู่บนพื้นลื่นอีกทีหนึ่ง ให้ μk และ μs เป็นสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์และสัมประสิทธความเสียดทานสถิตระหว่างวัตถุและแผ่นไม้ตามลำดับ
1) แรงเสียดทานที่แผ่นไม้ทำต่อวัตถุมีทิศทางใด และมีขนาดเท่าใด
2) ความเร่งของแผ่นไม้มีทิศทางใด และมีขนาดเท่าใด
3) แผ่นไม้เคลื่อนที่ไปเท่าใด เมื่อวัตถุและแผ่นไม้มีความเร็วเท่ากัน
4) วัตถุไถลไปบนแผ่นไม้เป็นระยะทางเท่าใด (วัดเทียบกับแผ่นไม ้ และวัดตั้งแต่ต้นจนวัตถุเริ่มหยุดไถลบนแผ่นไม้)
5) เมื่อวัตถุหยุดไถล แรงเสียดทานที่แผ่นไม้ทำต่อวัตถุมีขนาดเท่าใด และมีทิศทางใด
(ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 29 ส.ค. 2553) |
491. | ท่อนผอม, ตรง, ยาว, มวล M ความยาว L กำลังล้มจากหยุดนิ่งจากแนวดิ่งบนพื้นฝืด จงวิเคราะห์หาแรงเสียดทานที่พื้นกระทำต่อปลายล่างของท่อนทำให้ท่อนไม่ไถลไปทางซ้าย หาแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทำต่อปลายล่าง แล้วหาเงื่อนไขเกี่ยวกับค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (μ) ที่จะทำให้ปลายล่างไม่ไถลไปทางซ้ายเลย [ถึงแม้ว่าในที่สุดจะไปทางขวา] (ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.5 ศูนย์เตรียม 18 ธ.ค. 2554) ![]() |
492. | มวล m1 , m2 โยงกันด้วยเชือกยาว ℓ กำลังตกเข้าหาโลกมวล M ในแนวเข้าสู่ O โดยไม่มีการหมุน จงหาความตึงในเส้นเชือกในเทอมของ r , m1 , m2 , M , ℓ และ G ซึ่งเป็นค่า Gravitational constant และถ้า ℓ ≪ r ความตึงนี้จะมีค่าประมาณเท่าใด (ข้อสอบปลายค่าย 2 ม.5 ศูนย์เตรียม 24 มี.ค. 2552) ![]() |
493. | ค่อย ๆ วางวัตถุมวล m อย่างช้าๆ ลงบนทางเลื่อน (มวลมากกว่า m มาก ๆ) ในสนามบินสุวรรณภูมิซึ่ง กำลังเลื่อนด้วยอัตราเร็ว u คงตัว ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์ระหว่างวัตถุและทางเลื่อนเท่ากับ μk
1) จงหา นานเท่าใดหลังจากวางวัตถุ วัตถุจึงจะหยุดไถล และ
2) วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ระยะทางเท่าใด (เทียบกับคนที่ยืนอยู่นอกทางเลื่อน) ในระหว่างช่วงเวลาในข้อ 1)
(ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 2 ก.ย. 2550) |
494. | วัตถุเล็ก ๆ ตกจากหยุดนิ่งตามแนวรางลื่นจาก A ไป C แล้วไป B จะใช้เวลาเป็นกี่เท่าของการตกตามแนวรางลื่น A ตรงไป B (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 28 ส.ค. 2554) ![]() |
495. | M ถูกดีดด้วยความเร็วต้น vo ให้กระตุกโซ่ออกไปจากกองที่ origin O ของระบบอ้างอิงเฉื่อย XOY โซ่มีมวลต่อหน่วยความยาวเป็น λ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างโซ่และ M กับพื้นเป็น μ จงวิเคราะห์หา:
![]() ก. สมการเคลื่อนที่ equation of motion ของ M
ข. ความเร็ว v ที่ขณะใดๆ ในรูปของ vo,M, g, μ, λ และ x
ค. ความเร่ง \(\rm\dfrac{d}{dt}v\) ในรูปของ vo,M, g, μ, λ และ x
ง. ความเร่ง \(\rm\dfrac{d}{dt}v\) ที่จังหวะที่ x = 0 เป็นเท่าใด
(ข้อสอบปลายค่าย 1 ม.5 ศูนย์เตรียม 24 ต.ค. 2548) |
496. | จงอธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงสามแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันโดยวิธีการสร้างรูป ก) โดยวิธีการวาดรูป ข) โดยวิธีการคำนวณ |
497. | คนสองคนชักเย่อกัน ต่างคนต่างออกแรง F เท่ากันที่ปลายเชือกทั้งสองความตึงในเชือกมีค่าเท่าใด |
498. | แรง 5 นิวตัน และ 12 นิวตัน ในระนาบระดับมีทิศตั้งฉากกัน กระทำต่อมวล 10 กิโลกรัม บนพื้นระดับลื่นจงหาขนาดของความเร่งของมวลนี้
![]() |
499. | วัตถุมวล 20 กิโลกรัม มีแรงลัพธ์มากระทำต่อมวล ทำให้มวลเคลื่อนที่โดยมีความเร็วสัมพันธ์กับเวลา ดังกราฟ จงหาแรงลัพธ์ที่กระทำ ต่อวัตถุ ![]() |
500. | กล่องมวล m ไถลลงพื้นเอียงซึ่งทำมุม θ กับแนวระดับด้วยความเร่ง a ต่อมาเพิ่มมวลให้กล่องเป็น 2m ความเร่งจะเป็นเท่าใด ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหว่างกล่องกับพื้นเอียงมีค่าคงที่ |
501. | ลิ่มวางอยู่บนพื้นฝืดมาก ผิวบนของลิ่มเป็นผิวราบลื่นนำมวล M มาวางและปล่อยให้ไถลลงบนผิวลื่นนี้แรงที่ลิ่มกดทับพื้นระดับจะเพิ่มขึ้นจากเดิมเท่าใด
![]() |
502. | ในการทดลองเพื่อพิสูจน์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มีการชดเชยความฝืดและใช้ขนาดต่างๆ ลากมวล (รถทดลอง) และวัดความเร่ง เมื่อเขียนกราฟระหว่างแรงและความเร่งได้กราฟ
![]() |
503. | ผูกเชือก (ด้ายเย็บผ้าที่เหนียวพอประมาณ) กับถุงทรายดังภาพ ในระหว่างการดึงถุงขึ้นอย่างช้าๆ ทำให้เชือกไม่ขาด กับการดึงถุงขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้เชือกขาด เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น จงอธิบาย
![]() |
504. | สปริงเบาทั้งสามอันเหมือนกันหมด ถ้าสปริงในรูป ก. ยืดออก 4 เซนติเมตร สปริงในรูป ข. ยืดออกรวมเป็นกี่เซนติเมตรเมื่อแขวนมวลขนาดเท่ากันกับรูป ก.
![]() |
505. | มวล 1.0 กิโลกรัมสองก้อน ผูกติดกับเชือกเบาและแขวนติดกับเพดานของลิฟต์ดังรูป ถ้าลิฟต์เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง 2 m/s2 จงหาแรงตึงในเส้นเชือก T1 และ T2
![]() |
506. | เข็มขัดนิรภัยและที่พิงศีรษะซึ่งติดอยู่กับเบาะในรถยนต์มีไว้เพื่อประโยชน์อะไร จงอธิบายพร้อมเหตุผล |
507. | จากรูป กล่อง A และ B มีมวล 20 และ 10 กิโลกรัม ดึงวัตถุ A ด้วยแรงขนาน 200 นิวตัน ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหว่าง A กับพื้นและกล่อง A กับกล่อง B เป็น 0.4 และ 0.2 ตามลำดับ จงหาความเร่งของกล่อง A
![]() |
508. | แรงเสียดทานมีผลต่อการเดินเช่นไร จงใหเ้หตุผลประกอบ |
509. | จากการทดลองเรื่องสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน เมื่อจัดรางไม่ให้พื้นรางอยู่ในแนวระดับ และใช้เครื่องชั่งสปริงเกี่ยวขอของแผ่นไม้ที่มีถุงทรายทับอยู่บนแล้วออกแรง ดึงเครื่องชั่งสปริงให้ทิศของแรงดึงอยู่ในแนวระดับ ทำให้ได้ข้อมูลที่นำไปเขียนกราฟเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดแรงดึง (F) กับน้ำหนักถุงทรายรวมกับขนาดของน้ำหนักแผ่นไม้ (W) ได้กราฟดังรูป จงหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
![]() |
510. | กล่องสองใบมวล m1 และ m2 ตามลำดับ วางซ้อนกันบนพื้นราบไร้ความฝืด มีแรง F กระทำต่อกล่อง ทำให้กล่องทั้งสองเคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร่ง a ถ้า f เป็นแรงเสียดทานสูงสุดที่มีได้ระหว่างผิวสัมผัสของกล่องทั้งสอง F มีค่าได้มากที่สุดเท่าใด มวล m2 จึงไม่ไถลบน m1
![]() |
511. | ปล่อยวัตถุ A จากหยุดนิ่งลงมาจากที่สูง H ที่เวลา \(\rm\sqrt{\dfrac{H}{2g}}\) หลังจากนั้นก็ปาวัตถุ B ตามลงมา จงหาว่าจะต้องปา B ด้วยอัตราเร็วเท่าใด จึงจะให้ทัน A ที่พื้นพอดี (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 2 ก.ย. 2550) |
512. | รถไฟ A และ B สองขบวนแล่นบนรางตรงเดียวกันมาในทิศทางตรงกันข้ามพนักงานขับรถต่างเห็นรถไฟอีกขบวนหนึ่งอยู่ข้างหน้า จึงดึงห้ามล้อพร้อมกันเมื่อรถไฟทั้งสองอยู่ห่างกัน D และมีอัตราเร็วตอนนั้น uA และ uB สมมุติว่ารถไฟทั้งสองขบวนเคลื่อนที่ช้าลงด้วยความหน่วงคงตัว และรถไฟหยุดพร้อมกันที่ระยะห่างกัน d
1) จงหาอัตราส่วนขนาดความหน่วงของรถไฟ B ต่อขนาดความหน่วงของรถไฟ A
2) จงหาขนาดความหน่วงของรถไฟ A
(ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 2 ก.ย. 2550) |
513. | รางลื่นรูปวงกลมรัศมี R อยู่ในระนาบดิ่งมวล m ถูกดีดจากจุดล่างสุดให้ไถลขึ้นด้านในของราง พอถึงจุด A มวล m ก็แยกตัวจากรางเเล้วเคลื่อนที่โค้งวกลงมาตัดเเนวระดับเดียวกันกับ A ที่จุด B จงหาค่าของระยะทาง AB ในเทอมของ R กับ θ (ข้อสอบคัดเลือก ม.5 ศูนย์เตรียม 1 ก.ย. 2556) ![]() |
514. | นาย A และ นาย B แรกอยู่ห่างกันเป็นระยะทาง d นาย A กับ B ตั้งต้นออกวิ่งเข้าหากันที่จังหวะเดียวกัน A และ B มีอัตราเร็วคงที่เท่ากับ v1 และ v2 ตามลำดับ ทั้งคู่จะชนกันเมื่อ A เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าไหร่ (ข้อสอบคัดเลือก ม.4 ศูนย์เตรียม 28 ส.ค. 2554) ![]() |
515. | นักบิน T และ C ขณะที่กำลังบินด้วยความเร็ว \(\rm \vec v_c\) และ \(\rm \vec v_T\) ตามลำดับเทียบกับพื้นโลกนััน นักบิน T จะพบว่า C กำลังเคลื่อนที่หนีจากเขาด้วยความเร็ว(สัมพันธ์) ขนาดเท่าไร (ตอบในรูป vc vT และ θ)
![]() |
516. | ระยะทาง AB = D เป็นรางรถไฟตรง เมื่อนกออกบินจาก A พร้อมกันกับที่รถไฟออกจาก B นกบินได้เร็ว รถไฟเคลื่อนที่เร็ว เมื่อนกบินถึงรถไฟก็บินกลับทันทีด้วยความเร็วขนาดเท่าเดิม เมื่อนกบินถึง A รถไฟจะอยู่ห่าง B เท่าไร (กำหนดว่า v > u นกจะได้ไม่ถูกชน)
![]() |
517. | โจ๊กเกอร์วางแผนปล่อยหนูปีศาจออกมาอาละวาดในเมือง เขาเอาหนูปีศาจใส่รถบรรทุกแล่นด้วยอัตราเร็ว 10 m/s ไปตามถนนตรงเเละปล่อยหนูปีศาจออกมาทีละตัว โดยปล่อยหนึ่งตัวต่อวินาที หนูปีศาจเมื่อหลุดจากรถก็วิ่งไปข้างหน้าทันทีด้วยอัตราเร็ว 20 m/s (อัตราเร็วของหนูปีศาจบนถนนไม่ขึ้นกับอัตราเร็วของรถบรรทุก) แบทแมนรู้ข่าวนี้ล่วงหน้าจึงรีบมาจัดการเก็บหนูปีศาจ เขาขับรถค้างคาวแล่นสวนเข้ามาด้วยอัตราเร็ว 20 m/s ในทิศตรงข้ามกับทิศที่หนูวิ่งรถค้างคาวมีเครื่องมือเก็บหนูปีศาจทันทีที่หนูถึงรถ จงหาว่าแบทแมนจะเก็บหนูปีศาจไปทำหนูสะเต๊ะได้กี่ตัวต่อหนึ่งนาที |
518. | ปล่อยวัตถุหนึ่งจากหยุดนิ่งจากที่สูงขนาดหนึ่งลงมาในแนวดิ่ง พบว่าในวินาทีสุดท้ายก่อนกระทบพื้น วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทางหนึ่งในสี่ของความสูงทั้งหมดที่ตกลงมา จงหาว่าวัตถุใช้เวลาทั้งหมดเท่าใดในการตกลงมาก่อนถึงพื้น |
519. | รถไฟขบวนหนึ่งกำลังแล่นด้วยอัตราเร็ว vA ไปตามตารางตรง ทันใดนั้น พนักงานขับรถก็สังเกตเห็นรถไฟอีกขบวนหนึ่งที่ระยะห่าง d กำลังแล่นอยู่ข้างหน้าไปในทิศทางเดียวกันด้วยอัตราเร็ว vB เขาจึงดึงห้ามล้อทันที ถ้ารถไฟแล่นต่อด้วยความหน่วงคงตัว เเละรถไฟขบวนหน้าแล่นด้วยความเร็วเท่าเดิมไปเรื่อย ๆ จงหาความหน่วงที่น้อยที่สุดที่จะทำให้หลีกเลี่ยงการชนกับรถไฟขบวนหน้าได้พอดี |
520. | โยงวัตถุ A ขึ้นในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ว u และที่เวลา u/g ต่อมาก็โยงวัตถุ B ตามขึ้นไปด้วยอัตราเร็ว u เท่ากัน ถ้าวัตถุทั้งสองชนกันเหนือพื้น จงหาความสูงของตำเเหน่งที่วัตถุทั้งสองชนกัน ในที่นี้ g คือ ขนาดความเร่งสนามโน้มถ่วงโลกที่บริเวณนั้น |
521. | ล้อรัศมี R กำลังหมุนอยู่กับที่รอบแกน C ด้วยอัตราเร็ว f รอบต่อวินาที หยดน้ำที่ถูกสลัดออกไปจากจุด A ในแนวระดับจะตกกระทบพื้นระดับห่างจากจุด O เป็นระยะทางเท่าไร
![]() |
522. | ยิงกระสุนปืนออกไปในแนวราบ (บนผิวดวงจันทร์) กระสุนกระทบเป้าที่ระยะห่าง 25 เมตร ที่ตำแหน่ง 5 mm ใต้แนวการยิง แต่ถ้าเลื่อนเป้าให้ห่างจากจุดที่ยิงเป็น 50 เมตร ลูกปืนจะกระทบเป้าใต้แนวการยิงกี่มิลลิเมตร |
523. | ยิงโปรเจคไทล์อันแรกขึ้นจากพื้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น vo ยิงอันที่สองในแนวดิ่งตามขึ้นไปจากจุดเดียวกันด้วยความเร็วต้น \(\rm\dfrac{v_o}{2}\) ในจังหวะที่อันแรกขึ้นถึงจุดสูงสุดพอดี ทั้งคู่จะทันกันที่ตำแหน่งสูงจากพื้นเท่าไร |
524. | วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วไม่คงตัว นอกจากมีส่วนประกอบความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลางแล้วยังมีส่วนประกอบความเร่งในแนว สัมผัสด้วยรถยนต์คันหนึ่งซึ่งเดิมอยู่นิ่งเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางวงกลมรัศมี 40.0 m ด้วยส่วนประกอบความเร่งในแนวสัมผัสขนาดคงตัว 2.00 m/s2 ตอนตั้งต้นรถยนต์อยู่ที่ตำแหน่งตะวันตกสุดของวงกลมและกำลังจะแล่นไปในทิศเหนือ 1) หลังจากที่รถยนต์แล่นไปได้ระยะทาง 1/4 ของเส้นรอบวง รถยนต์มีอัตราเร็วเท่าใด และกำลังแล่นไปทางทิศใด
2) ที่จุดนี้ส่วนประกอบความเร่งในแนวเข้าสู่ศูนย์กลางของรถยนต์มีขนาดเท่าใด
3) ที่จุดเดียวกันนี้ความเร่งสุทธิของรถยนต์มีขนาดเท่าใด
|
525. | ![]() กำหนดให้ นำไปใช้ได ้\(\left(\dfrac{1.50}{9.8}\right)^{\frac{1}{2}}=0.391\) |
526. | รถเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกจากจุด A ไปยังจุด B ในเวลา 20 วินาที ได้ระยะทาง 200 เมตร หรือการกระจัด 200 เมตร ไปทางทิศตะวันออก รถคันนี้มีอัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ยเป็นเท่าใด
![]() |
527. | เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศเหนือได้ระยะทาง 300 เมตร จากนั้นเดินไปทางทิศตะวันออกได้ระยะทาง 400 เมตร ใช้เวลาเดินทางทั้งหมด 500 วินาที เด็กคนนี้เดินด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยกี่เมตรต่อวินาที |
528. | ถ้าการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ลากแถบกระดาษ ซึ่งเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะทุกๆ \(\dfrac{1}{50}\)วินาที ทำให้เกิดจุดดังรูป จากการสังเกตจุดเหล่านี้จะบอกได้คร่าวๆ ว่าความเร่งเป็นอย่างไร
![]() |
529. | กราฟของตำแหน่งวัตถุบนแนวแกน x กับเวลา t เป็นดังรูป ช่วงเวลาใดหรือที่ตำแหน่งใดที่วัตถุไม่มีความเร่ง
![]() |
530. | ลูกบอลลูกหนึ่งถูกปล่อยลงมาจากหน้าต่างถึงพื้น กราฟระหว่างความเร็ว-เวลาของการเคลื่อนที่เป็นดังภาพ อยากทราบว่า ที่จุด A ลูกบอลอยู่ที่ใด และความสูงจากหน้าต่างถึงพื้นเท่ากับเท่าไร
![]() |
531. | รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวตรงโดยมีความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที ต่อมาคนขับได้เร่งเครื่องยนต์ทำให้รถยนต์มีความเร่ง 3 เมตรต่อวินาที2 เป็นเวลา 5 วินาที จงหาความเร็วที่เวลา 5 วินาที |
532. | วัตถุชนิดหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด B ด้วยอัตราเร็ว 6.0 m/s ใช้เวลา 20 วินาที หลังจากนั้นเคลื่อนที่จากจุด B ไปจุด C ด้วยอัตราเร็ว 4.0 m/s ใช้เวลา 10 วินาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของวัตถุนี้ในการเคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด C
![]() |
533. | วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่เป็นวงกลมรัศมี 21 เมตร ครบหนึ่งรอบ การกระจัดมีค่าเท่าใด |
534. | จงเขียนเส้นทางการเคลื่อนที่ของโพรเจกไทล์ที่ยิงด้วยอัตราเร็วต้นและมุมเท่ากันบนดวงจันทร์และบนโลก |
535. | ถ้าต้องการยิงปืนใหญ่ให้ได้ระยะทางในแนวดิ่ง เป็น \(\dfrac{1}{2}\) เท่าของระยะทางในแนวระดับ จะต้องปรับปากกระบอกปืนใหญ่ให้ทำมุมเท่าไรกับแนวระดับ
![]() |
536. | ในการทดลองเรื่องการเคลื่อนแนววงกลมในระนาบระดับ ขณะที่กำลังแกว่งให้จุกยางหมุนอยู่นั้นเชือกที่ผูกกับจุกยางขาดออกจากกัน จงอธิบายถึงแรงที่เกี่ยวข้องก่อนและหลังการขาดของเชือก การเคลื่อนที่ของจุกยางเป็นเช่นไรหลังจากที่เชือกขาดไปแล้ว |
537. | จงอธิบายถึงเงื่อนไขที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม |
538. | ผูกวัตถุที่ปลายล่างของเชือกเส้นหนึ่งยาว 1 เมตร ตรึงปลายบนไว้แล้วแกว่งวัตถุให้เป็นวงกลมในระนาบระดับ ถ้าเชือกทำมุม θ กับแนวดิ่งวัตถุจะแกว่งครบรอบในเวลา T วินาที ความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุมีค่า |
539. | ดาวเทียมที่วงโคจรใกล้กับไกลจากโลก จะมีอัตราเร็วในการโคจรต่างกันอย่างไร
![]() |
540. | เด็ก 4 คนนั่งอยู่ริมตลิ่งและขว้างก้อนหินพร้อมกันลงในน้ำคนละก้อน ถ้าแต่ละก้อนตกน้ำที่ตำแหน่งต่างกันคือ A B C และ D โดยมีทางเดินของก้อนหินดังรูป จงพิจารณาว่าก้อนหินที่ตกตรงตำแหน่งใดเป็นก้อนที่ถึงพื้นน้ำก่อน
![]() |
541. | โจทย์ 21 |